อัปเดตพอร์ต All Weather Strategy ประจำเดือนพฤศจิกายน 2022: ความหวังต่อธนาคารกลางขับเคลื่อนตลาด

All Weather Strategy: กระจายการลงทุนเท่า ๆ กัน เพื่อรับมือกับความไม่แน่นอน ท่ามกลางความเสี่ยงเศรษฐกิจถดถอย

คอนเซปต์หลักพอร์ต All Weather Strategy (AWS)

  • Global: ลงทุนทั่วโลก
  • Long-term: สร้างผลตอบแทนระยะยาว และจำกัดการขาดทุนในช่วงที่ตลาดหุ้นปรับฐาน
  • Diversified: กระจายการลงทุนทั่วโลกใน 4 สินทรัพย์

ผลการดำเนินงาน AWS

  • รีวิว: ความคาดหวังต่อธนาคารกลางช่วยดันตลาดขึ้น
  • ผลงาน: AWS ปรับตัวขึ้น 0.8% ในเดือนตุลาคม 2022 แต่สร้างผลตอบแทนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 7%
  • มุมมอง: ธนาคารกลางกำลังขึ้นดอกเบี้ยในช่วงที่เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอย เพื่อชะลออัตราเงินเฟ้อ โดยการเกิดภาวะ stagflation (เงินเฟ้อสูง และเศรษฐกิจชะงักงัน) เป็นสิ่งที่เลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้นได้
  • ความเสี่ยง: เงินเฟ้อควบคุมได้ นโยบายการเงินทำให้ตลาดหุ้นปรับลงอย่างรุนแรง และเศรษฐกิจจีนที่อ่อนแอ

รีวิว: ผลตอบแทนของดัชนีต่าง ๆ ทั่วโลก

อัปเดตพอร์ต All Weather Strategy ประจำเดือนพฤศจิกายน 2022: ความหวังต่อธนาคารกลางขับเคลื่อนตลาด

 

  • ตลาดสหรัฐฯ อ่อนแอในเดือนที่ผ่านมา
  • ตลาดหุ้นเอเชียทรงตัว ยกเว้นตลาดหุ้นจีน
  • ตลาดหุ้นยุโรปปรับตัวลงเช่นกัน

อัปเดต: หุ้นกู้เอกชนทำผลงานได้แย่ในปีนี้

อัปเดต: หุ้นกู้เอกชนทำผลงานได้แย่ในปีนี้ อัปเดต: หุ้นกู้เอกชนทำผลงานได้แย่ในปีนี้ อัปเดต: พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษให้ผลตอบแทนแย่อย่างมีนัยสำคัญในช่วงปีที่ผ่านมา อัปเดต: พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษให้ผลตอบแทนแย่อย่างมีนัยสำคัญในช่วงปีที่ผ่านมา กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (REIT) ก็ไม่สามารถป้องกันความเสี่ยงจากอัตราเงินเฟ้อได้ อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยของสหรัฐฯ ทำให้ค่าผ่อนบ้านสูงขึ้นมาก อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยมักจะตามมาด้วยราคาบ้านที่ลดลง อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยมักจะตามมาด้วยราคาบ้านที่ลดลง อัปเดต: เงินเหรียญสหรัฐฯ มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น อัปเดต: เงินเหรียญสหรัฐฯ มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น ● เงินเหรียญสหรัฐฯ ถูกใช้ในธุรกรรมทางการเงินกว่า 40% ของธุรกรรมทั้งหมด อัปเดต: เงินยูโรอ่อนค่าลงมากเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐฯ อัปเดต: ค่าเงินยูโรที่อ่อนค่าทำให้ดุลการค้าของเยอรมนีลดลงอย่างมีนัยสำคัญ อัปเดต: เงินเยนอ่อนตัวเนื่องจากธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) เข้าแทรกแซง อัปเดต: สหรัฐฯ และจีนยังคงมีความขัดแย้งเรื่องเทคโนโลยีเซมิคอนดักเตอร์ อัปเดต: จีนขยายอิทธิพลในห่วงโซ่การค้าโลก อัปเดต: จีนขยายอิทธิพลในห่วงโซ่การค้าโลก อัปเดต: ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ครองอำนาจต่ออีกครั้ง ● อดีตประธานาธิบดี หู จิ่นเทา ถูกพาตัวออกจากการประชุมพรรคคอมมิวนิสต์จีน ในวันที่ 22 ตุลาคม 2022 อัปเดต: การขาดแคลนอุปทานในเชิงโครงสร้างเป็นผลดีต่อราคาสินค้าโภคภัณฑ์ อัปเดต: OPEC+ ลดโควตาการผลิตน้ำมัน ซึ่งน่าจะทำให้อุปทานน้ำมันโลกลดลง อัปเดต: ประธานาธิบดี โจ ไบเดน ต้องการที่จะเพิ่มภาษีให้กับบริษัทผู้ผลิตพลังงาน ซึ่งจะลดแรงจูงใจในการลงทุน อัปเดต: เราอาจเห็นการรวมกลุ่มกันของกลุ่มผู้ผลิตสินแร่ที่ต้องใช้ในแบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้า คล้ายกับการรวมกลุ่มกันของ OPEC อัปเดต: ธนาคารกลางเริ่มเก็บสะสมทองคำมากขึ้น ข้อสรุปที่สำคัญ ● พันธบัตรทำผลงานได้ไม่ดีในปีนี้ ● เงินดอลลาร์สหรัฐฯ แข็งค่าขึ้นมาก และยังคงเป็นสกุลเงินสำรองหลักของโลก การแข็งค่าของเงินดอลลาร์กดดันเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ● ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ครองอำนาจต่อ ● ปัญหาการขาดแคลนอุปทานจะช่วยให้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● ธนาคารกลางเริ่มเก็บสะสมทองคำ รีวิว: เราให้น้ำหนักการลงทุน 25% ในแต่ละสินทรัพย์ ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักในครั้งนี้ รีวิว: หุ้นโลกปรับตัวลงในปี 2022 แต่ปรับตัวขึ้น 5.9% ในเดือนตุลาคม ● หุ้นโลกปรับตัวขึ้น 19.0% ในปี 2021 แต่ตั้งแต่ต้นปี 2022 ปรับตัวลง 20.8% ● ตลาดปรับตัวขึ้น เพราะความหวังว่าธนาคารกลางจะกลับทิศนโยบาย รีวิว: หุ้นสหรัฐฯ ทำผลงานได้ดีที่สุดเป็นอันดับ 2 ในเดือนตุลาคม โดยปรับขึ้น 8.3% ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นสหรัฐฯ ● การคาดการณ์ว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) จะผ่อนคลายท่าทีลง และ GDP ที่ขยายตัวมากกว่าที่ประมาณการไว้ทำให้หุ้นฟื้นตัวขึ้น รีวิว: หุ้นยุโรปทำผลงานได้ดีที่สุด โดยปรับตัวขึ้น 8.9% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นยุโรปกลุ่มพัฒนาแล้ว ● การฟื้นตัวของหุ้นยุโรปก็มาจากความคาดหวังว่าธนาคารกลางจะชะลอความเร็วในการขึ้นดอกเบี้ยลง รีวิว: ตลาดเกิดใหม่ปรับตัวลง 3.3% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นตลาดเกิดใหม่ โดยทำผลงานได้แย่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ● การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ กดดันผลตอบแทนของตลาดเกิดใหม่ รีวิว: หุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น ปรับตัวลงมากที่สุดเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน โดยปรับตัวลง 4.8% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น ● การปรับตัวลงของหุ้นจีน และไต้หวัน รวมถึงการแข็งค่าของดอลลาร์สหรัฐฯ กดดันผลตอบแทนของตลาดหุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น รีวิว: ตลาดญี่ปุ่นสร้างผลตอบแทนได้ดีเป็นอันดับ 3 ในเดือนตุลาคม โดยปรับตัวขึ้น 4.4% ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นญี่ปุ่น ● หุ้นญี่ปุ่นฟื้นตัวจากความคาดหวังของการผ่อนคลายท่าทีของ FED รีวิว: ตลาดตราสารหนี้ไทยทรงตัว ● เราให้น้ำหนัก 5% กับตราสารหนี้ไทย (แทนที่จะเป็นตราสารหนี้ต่างประเทศ) ซึ่งทรงตัวในช่วงที่ผ่านมา ● วัตถุประสงค์หลักของการลงทุนในตราสารหนี้ เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากตลาดขาลง รีวิว: ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ให้ผลตอบแทน 3.1% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 25% กับสินค้าโภคภัณฑ์ ● ราคาสินค้าโภคภัณฑ์เป็นขาขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่เดือนเมษายน 2020 รีวิว: น้ำมันดิบ WTI ฟื้นตัวเล็กน้อย โดยราคาปิด ณ สิ้นเดือนตุลาคม อยู่ที่ 87 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล รีวิว: พลังงานสร้างผลตอบแทนดีที่สุด รองลงมาคือปศุสัตว์ ● การลดจำนวนโควต้าการผลิตของ OPEC+ ทำให้ราคาน้ำมันสูงขึ้น ● เราเห็นการฟื้นตัวของราคาปศุสัตว์ เช่นกัน รีวิว: ทองคำปรับตัวลงในปี 2022 โดยปรับตัวลง 2.3% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 25% ในทองคำ ● ราคาทองคำอยู่ที่ 1,633 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อออนซ์ ● การฟื้นตัวของหุ้น ทำให้ราคาสินทรัพย์ปลอดภัย เช่น ทองคำ ถูกกดดัน รีวิว: ความอ่อนแอของผลตอบแทนจากการลงทุนในทองคำมีส่วนสำคัญจากการแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ● เสมือนว่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นคู่แลกเปลี่ยน โดยการแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำให้ราคาทองคำต่ำลงในรูปเหรียญสหรัฐฯ ● และหมายความว่า ผลตอบแทนของทองคำ ขึ้นอยู่กับเงินสกุลท้องถิ่นต่าง ๆ ด้วย รีวิว: มีเพียงเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และสวิสฟรังก์เท่านั้น ที่แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับราคาทองคำในปี 2022 ● ในเดือนตุลาคม เงินเยน และเงินหยวนสามารถซื้อทองคำได้น้อยลง (ค่าเงินอ่อนเมื่อเทียบกับทองคำ) ● ขณะที่เงินสกุลอื่น ๆ แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับทองคำ ● เงินเหรียญสหรัฐฯ 3 เดือนที่ผ่านมา แข็งค่าขึ้นกว่าเดิม 4.1% เมื่อเทียบกับทองคำ โดยแข็งกว่าปีก่อนหน้า 4.0% ● เงินปอนด์อังกฤษ 3 เดือนที่ผ่านมา แข็งค่าขึ้น 2.7% เมื่อเทียบกับทองคำ โดยแข็งกว่าปีก่อน 2.6% รีวิว: AWS ปรับตัวขึ้น 0.8% ในเดือนตุลาคม และทำผลงานเหนือกว่าพอร์ต 60/40 เมื่อนับตั้งแต่ก่อตั้ง ● ตั้งแต่ตั้งพอร์ต AWS ให้ผลตอบแทนสูงกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 4.8% ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2022 เดือนตุลาคม 2022: AWS สร้างผลตอบแทนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 2.7% ● รีวิวผลตอบแทนของสินทรัพย์ต่าง ๆ ที่เราให้น้ำหนัก 25% ● สินค้าโภคภัณฑ์: ทำผลงานได้ดี แต่ต่ำกว่าหุ้น ● พันธบัตร: ผลงานทรงตัว ● ทองคำ: สร้างผลตอบแทนเป็นลบ เพราะนักลงทุนชอบความเสี่ยงมากขึ้น รีวิว: AWS สร้างผลตอบแทนได้ดี ● AWS ให้ผลตอบแทนสูงกว่าพอร์ต 60/40 ในช่วงเวลาส่วนใหญ่ ● ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมาถือเป็นช่วงเวลาที่ท้าทาย รีวิว: AWS มีความผันผวนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 ● สัดส่วนการลงทุนในหุ้น 25-65% ช่วยลดความผันผวน ● ทองคำช่วยลดความผันผวนโดยรวมของพอร์ต เนื่องจากเป็นสินทรัพย์ที่ไม่มีความสัมพันธ์กับหุ้น รีวิว: AWS ขาดทุนน้อยกว่าพอร์ตการลงทุนดั้งเดิมแบบ 60/40 9 ครั้งจาก 10 ครั้งในช่วงที่ตลาดหุ้นปรับตัวลงมากที่สุด ● จุดเด่นสำคัญของ AWS คือ การจำกัดการขาดทุนเมื่อตลาดหุ้นโลกปรับตัวลง ● นับตั้งแต่จัดตั้ง AWS ขาดทุนน้อยกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 9 วันถ้านับจากใน 10 วันที่หุ้นโลกทำผลงานได้ย่ำแย่ที่สุด รีวิว: AWS ทำผลงานแย่กว่าพอร์ตการลงทุนดั้งเดิมแบบ 60/40 ในเดือนตุลาคม แต่ยังทำผลงานเหนือกว่าพอร์ต 60/40 ใน 59% ของเดือนทั้งหมด ● AWS สามารถสร้างผลตอบแทนเหนือกว่าพอร์ต 60/40 ใน 26 เดือนจาก 44 เดือน สรุป FVMR แต่ละภูมิภาค ● พื้นฐาน (Fundamentals): หุ้นสหรัฐฯ มีผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ROE (Return on Equity) สูงที่สุด ● มูลค่า (Valuation): หุ้นตลาดเกิดใหม่ และหุ้นยุโรปพัฒนาแล้วมี PE (Price-to-Earnings) ต่ำที่สุด และหุ้นญี่ปุ่นมี PB (Price-to-Book) ต่ำที่สุด ● แนวโน้ม (Momentum): หุ้นญี่ปุ่นสร้างผลตอบแทนได้ดีที่สุดในปีที่ผ่านมา ● ความเสี่ยง (Risk): หุ้นเอเชียแปซิฟิก และหุ้นญี่ปุ่น มีอัตราหนี้สินต่อทุน (Gearing) ต่ำที่สุด น้ำหนัก: เราให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้น 25% โดยแบ่งเป็น 5% ในแต่ละภูมิภาค ● เราไม่ได้เปลี่ยนน้ำหนักการลงทุน มุมมอง: ราคาน้ำมันเริ่มปรับตัวลงมา แต่เงินเฟ้อยังคงสูง ● น้ำมันเป็นแหล่งพลังงานหลักสำหรับการเกษตร การผลิต และการคมนาคม ● ราคาน้ำมันที่ปรับตัวลงมาอาจช่วยชะลออัตราเงินเฟ้อ หรือทำให้อัตราเงินเฟ้อลดลงได้ ● อย่างไรก็ดี เรากลับพบว่า อัตราเงินเฟ้อยังคงสูงขึ้น มุมมอง: อัตราเงินเฟ้อปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่อง ● ราคาสินค้าและบริการที่แพงขึ้น เมื่อถึงจุดหนึ่งจะทำให้ความต้องการลดลง ● ฐานเงินเฟ้อที่สูงขึ้น จะแสดงระดับอัตราเงินเฟ้อที่ลดลง ● ดังนั้น เงินเฟ้ออาจเข้าใกล้จุดสูงสุดแล้ว แม้ว่าธนาคารกลางยังไม่ได้เข้าแทรกแซง ผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล 3 เดือนปรับตัวสูงขึ้นเป็น 3.8% จาก 1.4% ในปีที่ผ่านมา ● อย่างไรก็ดี อัตราเงินเฟ้อปรับตัวสูงขึ้นเร็วกว่าผลตอบแทนพันธบัตร ● เราคาดหวังว่าธนาคารกลางจะยังคงขึ้นดอกเบี้ยต่อ เพราะดูเหมือนว่ายังชะลอเงินเฟ้อไม่ได้ มุมมอง: ประธาน FED ตั้งมั่นที่จะหยุดยั้งเงินเฟ้อ ● ประธาน FED ยืนยันว่าความเดือดร้อนเป็นสิ่งที่จะเกิดขึ้น เพื่อให้เงินเฟ้อชะลอตัวลง ● “ข้อมูลจากการประชุมครั้งที่ผ่านมาแสดงให้เห็นว่าเป้าหมายดอกเบี้ยนโยบายอาจจะสูงกว่าที่คาดการณ์ไว้แต่แรก” ● FED จะพิจารณาผลลัพธ์จากการขึ้นดอกเบี้ยติดต่อกันหลายครั้ง ● หลายคนคาดว่าคำพูดของประธาน FED ส่งสัญญาณว่า FED กำลังจะลดขนาดการขึ้นดอกเบี้ย มุมมอง: ตลาดมองว่าเงินเฟ้อจะเข้าสู่ภาวะปกติ ● อัตราเงินเฟ้อคาดการณ์สหรัฐฯ 10 ปี อยู่ที่ 2.5% ส่งสัญญาณว่าตลาดคาดว่า FED จะควบคุมเงินเฟ้อได้ ● ถ้าการคาดการณ์เงินเฟ้อต่ำกว่าความจริง จะทำให้ราคาหุ้น สินค้าโภคภัณฑ์ และทองคำปรับตัวขึ้น มุมมอง: ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) ดูเหมือนว่าจะสูงที่สุดแล้ว ● ถ้าราคาน้ำมันไม่ปรับตัวขึ้นอย่างมีนัยสำคัญแล้ว เราคาดว่า CPI น่าจะผ่านจุดที่สูงที่สุดแล้ว ● แต่ว่าราคาน้ำมันที่อยู่ในระดับสูง น่าจะทำให้ราคาอาหารและสินค้าอื่น ๆ ทรงตัวในระดับสูง ทำให้ไม่น่าจะเห็นการปรับตัวลงของ CPI อย่างรวดเร็วภายใน 2-3 เดือนหน้า มุมมอง: การขึ้นดอกเบี้ยในเดือนธันวาคมได้ถูกตลาดคาดการณ์ไว้แล้ว (priced in) ● ตลาดมั่นใจ 100% ว่า FED จะขึ้นดอกเบี้ยในการประชุมครั้งถัดไป ● โดยเชื่อมั่น 61.5% ว่าจะมีการขึ้นดอกเบี้ย 0.5% เข้าสู่ระดับ 4.25-4.50% มุมมอง: การขึ้นดอกเบี้ยครั้งนี้เป็นการปรับขึ้นที่เร็วที่สุดตั้งแต่ช่วง 1980 ● ในการขึ้นดอกเบี้ยปี 2004 ดอกเบี้ยนโยบายปรับขึ้นรวม 4.25% ● ในการขึ้นดอกเบี้ยครั้งนี้ ดอกเบี้ยปรับขึ้นแล้ว 3.75% ● ตลาดคาดว่าดอกเบี้ยจะเข้าสู่ระดับ 4.25% ในเดือนธันวาคม 2022 และปรับเพิ่มขึ้นอีกในเดือนกุมภาพันธ์ 2023 มุมมอง: ดอกเบี้ยไม่เคยขึ้นสู่ระดับ 3% ด้วยความเร็วขนาดนี้ ตั้งแต่ช่วง 1950 มุมมอง: ตั้งแต่เดือนมีนาคม ตลาดคาดว่า FED จะดำเนินนโยบายเข้มงวดมากขึ้น ● ตลาดเชื่อว่าดอกเบี้ยนโยบายจะสูงสุดในเดือนมิถุนายน 2023 ● FED กำลังสู้กับเงินเฟ้ออย่างเข้มข้น แม้ว่าจะต้องเสี่ยงกับเภาวะศรษฐกิจถดถอย มุมมอง: ตลาดมองว่า FED เข้มงวดด้านนโยบายการเงินมากที่สุด ● ดอกเบี้ยนโยบายที่ต่ำกว่าของธนาคารกลางยุโรป (ECB) และธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) ทำให้เชื่อว่าเงินยูโร และเงินเยนจะอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐฯ มุมมอง: การกลับทิศของกราฟอัตราส่วนผลตอบแทนพันธบัตร (inverted yield-curve) รุนแรงขึ้น ● ตั้งแต่ปี 1970 inverted yield-curve จะเกิดขึ้นก่อนภาวะเศรษฐกิจถดถอย ● หลังจากเกิด inverted yield curve จะเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยโดยเฉลี่ยภายใน 1 ปี (ประมาณกลางปี 2023) มุมมอง: จับตาดูความแตกต่างระหว่างผลตอบแทนพันธบัตร (yield spread) ● อัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่แตกต่างกันมากขึ้น แสดงให้เห็นว่านักลงทุนต้องการผลตอบแทนที่มากขึ้น ให้คุ้มค่ากับความเสี่ยง ● สหภาพยุโรปมี yield spread ใกล้เคียงกับในช่วง COVID แล้ว แต่ yield spread ในสหรัฐฯ ยังต่ำกว่า และปรับตัวต่ำลงเรื่อย ๆ มุมมอง: หุ้นถูกประเมินมูลค่าต่ำลงมา โดยมาจากราคาที่ต่ำลงเป็นสำคัญ ● มูลค่าหุ้นโลกที่ถูกประเมินไว้ปรับตัวต่ำลงมากว่าค่าเฉลี่ยในอดีตเล็กน้อย ● แม้ว่าอัตราการทำกำไรจะต่ำกว่าเดิม แต่ว่ายังไม่มีการปรับประมาณการลงอย่างมีนัยสำคัญ มุมมอง: ความเห็นตลาดยังมองว่ากำไรของบริษัทจะเพิ่มขึ้น ● เป็นสิ่งที่ดี ● นักวิเคราะห์เชื่อว่ากำไรของบริษัทจะเติบโต 7% ในปีหน้า และจะเติบโตมากขึ้นเป็นลำดับ มุมมอง: ความเห็นตลาดยังมองว่ากำไรของบริษัทจะเพิ่มขึ้น ● เป็นสิ่งที่ดี ● นักวิเคราะห์เชื่อว่ากำไรของบริษัทจะเติบโต 7% ในปีหน้า และจะเติบโตมากขึ้นเป็นลำดับ มุมมอง: สำหรับภูมิภาคอื่น ๆ คาดว่าอัตราการทำกำไรจะลดลงต่อเนื่อง 2 ปี ● แม้ว่าจะมีความเสี่ยงเศรษฐกิจถดถอย แต่ว่ายังมีการเติบโตของกำไร (การเติบโตไม่ติดลบ) ● นักวิเคราะห์ค่อนข้างกังวลกับบริษัทในสหรัฐฯ ทั้งนี้ นักลงทุนมักจะมองโลกในแง่ดีกว่าความเป็นจริง และไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงของตลาดทันท่วงที รีวิว: ECB อาจจะชะลอการขึ้นดอกเบี้ย ● เงินเฟ้อปรับตัวสูงที่สุดอีกครั้งในเดือนตุลาคม ที่ระดับ 10.7% ● หลังจากการขึ้นดอกเบี้ย 0.75% ในเดือนตุลาคม ECB ส่งสัญญาณว่าจะลดอัตราการขึ้นดอกเบี้ยลงในเดือนธันวาคม ● อย่างไรก็ดี ถ้า FED ยังขึ้นดอกเบี้ยต่อเนื่อง แต่ ECB ลดอัตราการขึ้นดอกเบี้ยลง ค่าเงินยูโรอาจอ่อนตัวลงอีก ทำให้เกิดภาวะขาดดุลทางการค้า มุมมอง: ยังไม่มีการดำเนินนโยบายการเงินแบบตึงตัว (QT) เท่าไรนัก ● ธนาคารกลางเริ่มให้พันธบัตรหมดอายุ ทำให้งบดุลไม่โตขึ้นแล้ว ● งบดุลของ BOJ โตขึ้นเล็กน้อยในเดือนตุลาคม มุมมอง: เราเชื่อว่าธนาคารกลางจะกลับทิศนโยบายในอนาคต ● ธนาคารกลางสื่อสารว่าจะควบคุมให้เงินเฟ้อลดลง และนักลงทุนดูเหมือนว่าจะเชื่อเช่นนั้น ● เราเชื่อว่าธนาคารกลาง และนักการเมืองพร้อมที่จะเปลี่ยนนโยบาย หากมีความเสียหายเกิดขึ้นกับเศรษฐกิจ ● และเราเชื่อว่าธนาคารกลางกำลังจะทำให้เกิดความเสียหายกับเศรษฐกิจ มุมมอง: stagflation จะเป็นสิ่งเลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้น ● ถ้าธนาคารกลางชะลอการเติบโตของเศรษฐกิจ แต่ไม่สามารถหยุดเงินเฟ้อได้ จะเกิดภาวะ stagflation ● ภาวะ stagflation ส่งผลเสียต่อหุ้นและพันธบัตร ● สินค้าโภคภัณฑ์มักสร้างผลตอบแทนได้ดีในช่วงเงินเฟ้อ และทองคำมักสร้างผลตอบแทนได้ดีในช่วง stagflation ● เนื่องจากยังมีความไม่แน่นอนสูง เราจำกัดการลงทุนในหุ้น มุมมอง: ตลาดหุ้นสหรัฐฯ มีบทบาทมากต่อตลาดการเงินโลก ● เงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นเหมือนสินทรัพย์ปลอดภัย ซึ่งการขึ้นดอกเบี้ยและการทำ QT จะทำให้ค่าเงินดอลลาร์แข็งขึ้นอีก ● เราเชื่อว่าตลาดหุ้นสหรัฐฯ มีความยืดหยุ่นต่อความเสี่ยงได้ดีกว่าตลาดหุ้นอื่น ● เรายังให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้นในแต่ละภูมิภาคอย่างน้อย 5% เนื่องจากเราเชื่อว่าตลาดหุ้นยังอ่อนแอ มุมมอง: ECB ก็ต้องสู้กับเงินเฟ้อเช่นกัน ● ราคาพลังงานที่สูงขึ้นจะกดดันการบริโภค และการผลิต ● เราคงน้ำหนัก 5% ในการลงทุนในตลาดหุ้นยุโรปกลุ่มพัฒนาแล้ว มุมมอง: การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ส่งผลลบต่อตลาดเกิดใหม่ ● การขึ้นดอกเบี้ยของ FED น่าจะทำให้เงินเหรียญสหรัฐฯ แข็งค่า สภาพคล่องในระบบลดลง และทำให้ตลาดเกิดใหม่ได้รับผลกระทบเชิงลบได้ ● เงินเหรียญสหรัฐฯ ถือเป็นสินทรัพย์ปลอดภัย (safe haven) ซึ่งนักลงทุนอาจใช้พักเงินในช่วงที่สถานการณ์โลกมีความไม่แน่นอนสูง มุมมอง: การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และเศรษฐกิจจีนยังเป็นข้อกังวล ● การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำให้การชำระหนี้ที่เป็นเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำได้ยากขึ้น เนื่องจากจะต้องใช้เงินสกุลท้องถิ่นมาแลกมากขึ้น ● เรายังไม่เชื่อมั่นว่าเศรษฐกิจจีนจะฟื้นตัว ● ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ได้ครองอำนาจอีกครั้ง และการควบคุมเงินเฟ้อของรัฐบาลอาจกดดันภาคเศรษฐกิจและรายได้ของบริษัท ตลอดจนนโยบายโควิดเป็นศูนย์ (zero-covid policy) ยังไม่ได้ถูกยกเลิก มุมมอง: หุ้นจีนยังคงกดดันผลตอบแทนหุ้นตลาดเกิดใหม่ และตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่น ● หุ้นจีนน่าจะยังคงกดดันผลตอบแทนหุ้นตลาดเกิดใหม่ และตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่นต่อไป ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นตลาดเกิดใหม่ และ 5% ในหุ้นตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่น มุมมอง: เงินเยนน่าจะอ่อนค่าต่อไป ● BOJ ยังคงดอกเบี้ยนโยบายที่ระดับต่ำ และคาดหวังว่าอัตราเงินเฟ้อจะเพิ่มสูงขึ้น ● เราให้น้ำหนัก 5% ในตลาดหุ้นญี่ปุ่น มุมมอง: เราให้น้ำหนัก 25% ในพันธบัตร ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนน้ำหนักในการลงทุน มุมมอง: พันธบัตรยังเป็นการลงทุนที่ปลอดภัย แม้ว่าในปี 2022 จะให้ผลตอบแทนที่ค่อนข้างแย่ ● ในช่วงเศรษฐกิจถดถอย การลงทุนในสินทรัพย์ปลอดภัย เช่น พันธบัตรรัฐบาล มักให้ผลตอบแทนดี ● อย่างไรก็ดี ในช่วงที่เงินเฟ้อสูง อัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่ต่ำ อาจทำให้อัตราผลตอบแทนที่แท้จริง (real return) ติดลบ ● เราไม่ได้ใช้พันธบัตรในการเก็งกำไร เพื่อสร้างผลตอบแทน แต่เรามองว่าพันธบัตรสามารถป้องกันความเสี่ยงได้ดี มุมมอง: เราให้น้ำหนักสินค้าโภคภัณฑ์ที่ 25% ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนน้ำหนักในการลงทุน มุมมอง: แม้ว่าราคาก๊าซธรรมชาติจะกลับมาอยู่ในระดับเดียวกันเดือนมิถุนายน 2021 แต่ราคาน้ำมันยังคงสูง ● ราคาก๊าซธรรมชาติในยุโรปกลับเข้าสู่ระดับปกติ เนื่องจากมีสำรองเพียงพอ และสภาพภูมิอากาศไม่รุนแรงนัก มุมมอง: ตลาดเชื่อว่าราคาก๊าซธรรมชาติจะกลับมาแพงขึ้น ● การพึ่งพิงพลังงานจากรัสเซียจะส่งผลกระทบต่อตลาดพลังงานในยุโรป ● ถ้าอากาศหนาวเย็นลง ปริมาณก๊าซสำรองอาจลดลงอย่างรวดเร็ว ทำให้ราคาปรับตัวขึ้น มุมมอง: ปัจจัยพื้นฐานยังสนับสนุนราคาน้ำมัน ● กลุ่ม OPEC+ ผลิตได้ไม่เป็นไปตามเป้า และมีการลดกำลังการผลิต ทำให้ราคาน้ำมันน่าจะอยู่ในระดับสูงต่อไป ● สงครามในยูเครนน่าจะก่อให้เกิดปัญหาด้านอุปทานต่ออีกระยะหนึ่ง ● ราคาพลังงานน่าจะอยู่ในระดับสูงต่อไป จากการลงทุนที่ไม่เพียงพอในโครงการใหม่ ๆ มุมมอง: อุปทานสำหรับสินค้าทางการเกษตรอาจตึงตัวมากขึ้นอีก ● นอกจากพลังงานแล้ว รัสเซียยังเป็นผู้ส่งออกโลหะอุตสาหกรรมหลายชนิด รวมถึงรัสเซีย และยูเครนยังเป็นผู้ส่งออกสำคัญของสินค้าทางการเกษตร ● ลานีญ่า (La Nina) อาจทำให้อุปทานสินค้าเกษตร เช่น ข้าวโพด ถั่วเหลือง และแป้ง ลดลง ซึ่งลานีญ่านี้เองทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไป เกิดพายุรุนแรง และความแห้งแล้ง ซึ่งผลกระทบอาจแตกต่างกันตามภูมิภาค มุมมอง: ราคาพลังงานที่สูงขึ้น ส่งผลต่อราคาอาหาร แต่ราคาธัญพืชฟื้นตัวได้เล็กน้อยในเดือนกันยายน ● ก๊าซธรรมชาติใช้ในการทำปุ๋ย และราคาที่เพิ่มขึ้นของปุ๋ยทำให้เมล็ดพันธุ์ต้องปรับราคาขึ้นตามไปด้วย ● เมื่อราคาก๊าซธรรมชาติต่ำลง บริษัทผลิตปุ๋ยอาจกลับมาผลิตปุ๋ยอีกครั้ง ● ข้าวโพดถูกใช้เป็นอาหารของสัตว์ ซึ่งราคาข้าวโพดที่แพงขึ้นทำให้ราคาเนื้อสัตว์ปรับขึ้นตาม มุมมอง: ดัชนีราคาอาหารโลกปรับขึ้นสูงที่สุดในเดือนมีนาคม 2022 ที่ 160 และปัจจุบันอยู่ที่ 136 ในเดือนกันยายน 2022 ● การห้ามการส่งออกอาหารของบางประเทศทำให้เกิดการขาดแคลนอาหารและทำให้ราคาอาหารสูงขึ้น ● ราคาน้ำมันพืชและธัญพืชที่ปรับตัวลงทำให้ดัชนีราคาอาหารปรับตัวลง ● ราคาเนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์จากนมอยู่ในระดับเดียวกับเดือนมีนาคม 2022 มุมมอง: ราคาสินค้าโภคภัณฑ์น่าจะยังปรับขึ้นต่อได้ ● การฟื้นตัวของความต้องการ (อาหารและพลังงาน) ภาวะเงินเฟ้อ และปัญหาห่วงโซ่อุปทาน ทั้งที่เกี่ยวและไม่เกี่ยวกับสงครามจะผลักดันให้สินค้าโภคภัณฑ์ปรับตัวสูงขึ้น ● การเปิดเมืองอีกครั้งของจีนจะทำให้ความต้องการสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● ถ้าเกิดภาวะ stagflation คาดว่าสินค้าโภคภัณฑ์จะสร้างผลตอบแทนได้ดี มุมมอง: เราให้น้ำหนักทองคำที่ 25% ● เราไม่ได้เปลี่ยนแปลงน้ำหนักการลงทุน มุมมอง: ทองคำจะเป็นเหมือนหลักประกันป้องกันความเสี่ยง ● สงครามในยูเครนทำให้เกิดความไม่แน่นอน ผลักดันความคาดหวังอัตราเงินเฟ้อ ทำให้สินทรัพย์ปลอดภัย เช่น ทองคำ ได้รับความสนใจมากขึ้น ● อย่างไรก็ดี ความคาดหวังการขึ้นดอกเบี้ย อาจกดดันราคาทองคำ ● โดยทั่วไป ทองคำจะช่วยป้องกันความเสี่ยงในช่วงตลาดขาลงได้ ความเสี่ยง: เงินเฟ้อถูกควบคุมได้อย่างรวดเร็ว ● ถ้าธนาคารกลางสร้างความแปลกใจให้กับตลาดด้วยการขึ้นดอกเบี้ยเร็วและแรง พร้อมกับการดึงสภาพคล่องออกจากตลาด อาจจะทำให้ตลาดหุ้นปรับตัวลงอย่างรุนแรง ● เราไม่ได้ให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้นมาก หากธนาคารกลางปรับเปลี่ยนนโยบาย และหุ้นปรับตัวสูงขึ้น อาจทำให้เราเสียโอกาสบ้าง ● เศรษฐกิจจีนที่อ่อนแออาจลดความต้องการของสินค้าโภคภัณฑ์ กดดันทำให้ราคาต่ำลงได้ ● ราคาสินค้าโภคภัณฑ์อื่นอาจปรับตัวลงพร้อมกับราคาพลังงาน เนื่องจากพลังงานเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิต ข้อสรุปที่สำคัญ ● AWS สร้างผลตอบแทนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 2.7% ในเดือนตุลาคม 2022 ● ธนาคารกลางกำลังขึ้นดอกเบี้ยในช่วงที่เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอย เพื่อชะลออัตราเงินเฟ้อ โดย stagflation เป็นสิ่งที่เลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้นได้ ● ความต้องการสินค้าจำเป็น (อาหารและพลังงาน) ภาวะเงินเฟ้อ และปัญหาห่วงโซ่อุปทานจะทำใหราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● พันธบัตรและทองคำใช้ในการลดความเสี่ยง ● ความเสี่ยง: เงินเฟ้อควบคุมได้ นโยบายการเงินทำให้ตลาดหุ้นปรับลงอย่างรุนแรง และเศรษฐกิจจีนที่อ่อนแอ

อัปเดต: หุ้นกู้เอกชนทำผลงานได้แย่ในปีนี้

อัปเดต: หุ้นกู้เอกชนทำผลงานได้แย่ในปีนี้ อัปเดต: หุ้นกู้เอกชนทำผลงานได้แย่ในปีนี้ อัปเดต: พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษให้ผลตอบแทนแย่อย่างมีนัยสำคัญในช่วงปีที่ผ่านมา อัปเดต: พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษให้ผลตอบแทนแย่อย่างมีนัยสำคัญในช่วงปีที่ผ่านมา กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (REIT) ก็ไม่สามารถป้องกันความเสี่ยงจากอัตราเงินเฟ้อได้ อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยของสหรัฐฯ ทำให้ค่าผ่อนบ้านสูงขึ้นมาก อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยมักจะตามมาด้วยราคาบ้านที่ลดลง อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยมักจะตามมาด้วยราคาบ้านที่ลดลง อัปเดต: เงินเหรียญสหรัฐฯ มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น อัปเดต: เงินเหรียญสหรัฐฯ มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น ● เงินเหรียญสหรัฐฯ ถูกใช้ในธุรกรรมทางการเงินกว่า 40% ของธุรกรรมทั้งหมด อัปเดต: เงินยูโรอ่อนค่าลงมากเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐฯ อัปเดต: ค่าเงินยูโรที่อ่อนค่าทำให้ดุลการค้าของเยอรมนีลดลงอย่างมีนัยสำคัญ อัปเดต: เงินเยนอ่อนตัวเนื่องจากธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) เข้าแทรกแซง อัปเดต: สหรัฐฯ และจีนยังคงมีความขัดแย้งเรื่องเทคโนโลยีเซมิคอนดักเตอร์ อัปเดต: จีนขยายอิทธิพลในห่วงโซ่การค้าโลก อัปเดต: จีนขยายอิทธิพลในห่วงโซ่การค้าโลก อัปเดต: ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ครองอำนาจต่ออีกครั้ง ● อดีตประธานาธิบดี หู จิ่นเทา ถูกพาตัวออกจากการประชุมพรรคคอมมิวนิสต์จีน ในวันที่ 22 ตุลาคม 2022 อัปเดต: การขาดแคลนอุปทานในเชิงโครงสร้างเป็นผลดีต่อราคาสินค้าโภคภัณฑ์ อัปเดต: OPEC+ ลดโควตาการผลิตน้ำมัน ซึ่งน่าจะทำให้อุปทานน้ำมันโลกลดลง อัปเดต: ประธานาธิบดี โจ ไบเดน ต้องการที่จะเพิ่มภาษีให้กับบริษัทผู้ผลิตพลังงาน ซึ่งจะลดแรงจูงใจในการลงทุน อัปเดต: เราอาจเห็นการรวมกลุ่มกันของกลุ่มผู้ผลิตสินแร่ที่ต้องใช้ในแบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้า คล้ายกับการรวมกลุ่มกันของ OPEC อัปเดต: ธนาคารกลางเริ่มเก็บสะสมทองคำมากขึ้น ข้อสรุปที่สำคัญ ● พันธบัตรทำผลงานได้ไม่ดีในปีนี้ ● เงินดอลลาร์สหรัฐฯ แข็งค่าขึ้นมาก และยังคงเป็นสกุลเงินสำรองหลักของโลก การแข็งค่าของเงินดอลลาร์กดดันเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ● ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ครองอำนาจต่อ ● ปัญหาการขาดแคลนอุปทานจะช่วยให้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● ธนาคารกลางเริ่มเก็บสะสมทองคำ รีวิว: เราให้น้ำหนักการลงทุน 25% ในแต่ละสินทรัพย์ ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักในครั้งนี้ รีวิว: หุ้นโลกปรับตัวลงในปี 2022 แต่ปรับตัวขึ้น 5.9% ในเดือนตุลาคม ● หุ้นโลกปรับตัวขึ้น 19.0% ในปี 2021 แต่ตั้งแต่ต้นปี 2022 ปรับตัวลง 20.8% ● ตลาดปรับตัวขึ้น เพราะความหวังว่าธนาคารกลางจะกลับทิศนโยบาย รีวิว: หุ้นสหรัฐฯ ทำผลงานได้ดีที่สุดเป็นอันดับ 2 ในเดือนตุลาคม โดยปรับขึ้น 8.3% ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นสหรัฐฯ ● การคาดการณ์ว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) จะผ่อนคลายท่าทีลง และ GDP ที่ขยายตัวมากกว่าที่ประมาณการไว้ทำให้หุ้นฟื้นตัวขึ้น รีวิว: หุ้นยุโรปทำผลงานได้ดีที่สุด โดยปรับตัวขึ้น 8.9% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นยุโรปกลุ่มพัฒนาแล้ว ● การฟื้นตัวของหุ้นยุโรปก็มาจากความคาดหวังว่าธนาคารกลางจะชะลอความเร็วในการขึ้นดอกเบี้ยลง รีวิว: ตลาดเกิดใหม่ปรับตัวลง 3.3% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นตลาดเกิดใหม่ โดยทำผลงานได้แย่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ● การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ กดดันผลตอบแทนของตลาดเกิดใหม่ รีวิว: หุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น ปรับตัวลงมากที่สุดเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน โดยปรับตัวลง 4.8% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น ● การปรับตัวลงของหุ้นจีน และไต้หวัน รวมถึงการแข็งค่าของดอลลาร์สหรัฐฯ กดดันผลตอบแทนของตลาดหุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น รีวิว: ตลาดญี่ปุ่นสร้างผลตอบแทนได้ดีเป็นอันดับ 3 ในเดือนตุลาคม โดยปรับตัวขึ้น 4.4% ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นญี่ปุ่น ● หุ้นญี่ปุ่นฟื้นตัวจากความคาดหวังของการผ่อนคลายท่าทีของ FED รีวิว: ตลาดตราสารหนี้ไทยทรงตัว ● เราให้น้ำหนัก 5% กับตราสารหนี้ไทย (แทนที่จะเป็นตราสารหนี้ต่างประเทศ) ซึ่งทรงตัวในช่วงที่ผ่านมา ● วัตถุประสงค์หลักของการลงทุนในตราสารหนี้ เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากตลาดขาลง รีวิว: ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ให้ผลตอบแทน 3.1% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 25% กับสินค้าโภคภัณฑ์ ● ราคาสินค้าโภคภัณฑ์เป็นขาขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่เดือนเมษายน 2020 รีวิว: น้ำมันดิบ WTI ฟื้นตัวเล็กน้อย โดยราคาปิด ณ สิ้นเดือนตุลาคม อยู่ที่ 87 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล รีวิว: พลังงานสร้างผลตอบแทนดีที่สุด รองลงมาคือปศุสัตว์ ● การลดจำนวนโควต้าการผลิตของ OPEC+ ทำให้ราคาน้ำมันสูงขึ้น ● เราเห็นการฟื้นตัวของราคาปศุสัตว์ เช่นกัน รีวิว: ทองคำปรับตัวลงในปี 2022 โดยปรับตัวลง 2.3% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 25% ในทองคำ ● ราคาทองคำอยู่ที่ 1,633 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อออนซ์ ● การฟื้นตัวของหุ้น ทำให้ราคาสินทรัพย์ปลอดภัย เช่น ทองคำ ถูกกดดัน รีวิว: ความอ่อนแอของผลตอบแทนจากการลงทุนในทองคำมีส่วนสำคัญจากการแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ● เสมือนว่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นคู่แลกเปลี่ยน โดยการแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำให้ราคาทองคำต่ำลงในรูปเหรียญสหรัฐฯ ● และหมายความว่า ผลตอบแทนของทองคำ ขึ้นอยู่กับเงินสกุลท้องถิ่นต่าง ๆ ด้วย รีวิว: มีเพียงเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และสวิสฟรังก์เท่านั้น ที่แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับราคาทองคำในปี 2022 ● ในเดือนตุลาคม เงินเยน และเงินหยวนสามารถซื้อทองคำได้น้อยลง (ค่าเงินอ่อนเมื่อเทียบกับทองคำ) ● ขณะที่เงินสกุลอื่น ๆ แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับทองคำ ● เงินเหรียญสหรัฐฯ 3 เดือนที่ผ่านมา แข็งค่าขึ้นกว่าเดิม 4.1% เมื่อเทียบกับทองคำ โดยแข็งกว่าปีก่อนหน้า 4.0% ● เงินปอนด์อังกฤษ 3 เดือนที่ผ่านมา แข็งค่าขึ้น 2.7% เมื่อเทียบกับทองคำ โดยแข็งกว่าปีก่อน 2.6% รีวิว: AWS ปรับตัวขึ้น 0.8% ในเดือนตุลาคม และทำผลงานเหนือกว่าพอร์ต 60/40 เมื่อนับตั้งแต่ก่อตั้ง ● ตั้งแต่ตั้งพอร์ต AWS ให้ผลตอบแทนสูงกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 4.8% ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2022 เดือนตุลาคม 2022: AWS สร้างผลตอบแทนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 2.7% ● รีวิวผลตอบแทนของสินทรัพย์ต่าง ๆ ที่เราให้น้ำหนัก 25% ● สินค้าโภคภัณฑ์: ทำผลงานได้ดี แต่ต่ำกว่าหุ้น ● พันธบัตร: ผลงานทรงตัว ● ทองคำ: สร้างผลตอบแทนเป็นลบ เพราะนักลงทุนชอบความเสี่ยงมากขึ้น รีวิว: AWS สร้างผลตอบแทนได้ดี ● AWS ให้ผลตอบแทนสูงกว่าพอร์ต 60/40 ในช่วงเวลาส่วนใหญ่ ● ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมาถือเป็นช่วงเวลาที่ท้าทาย รีวิว: AWS มีความผันผวนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 ● สัดส่วนการลงทุนในหุ้น 25-65% ช่วยลดความผันผวน ● ทองคำช่วยลดความผันผวนโดยรวมของพอร์ต เนื่องจากเป็นสินทรัพย์ที่ไม่มีความสัมพันธ์กับหุ้น รีวิว: AWS ขาดทุนน้อยกว่าพอร์ตการลงทุนดั้งเดิมแบบ 60/40 9 ครั้งจาก 10 ครั้งในช่วงที่ตลาดหุ้นปรับตัวลงมากที่สุด ● จุดเด่นสำคัญของ AWS คือ การจำกัดการขาดทุนเมื่อตลาดหุ้นโลกปรับตัวลง ● นับตั้งแต่จัดตั้ง AWS ขาดทุนน้อยกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 9 วันถ้านับจากใน 10 วันที่หุ้นโลกทำผลงานได้ย่ำแย่ที่สุด รีวิว: AWS ทำผลงานแย่กว่าพอร์ตการลงทุนดั้งเดิมแบบ 60/40 ในเดือนตุลาคม แต่ยังทำผลงานเหนือกว่าพอร์ต 60/40 ใน 59% ของเดือนทั้งหมด ● AWS สามารถสร้างผลตอบแทนเหนือกว่าพอร์ต 60/40 ใน 26 เดือนจาก 44 เดือน สรุป FVMR แต่ละภูมิภาค ● พื้นฐาน (Fundamentals): หุ้นสหรัฐฯ มีผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ROE (Return on Equity) สูงที่สุด ● มูลค่า (Valuation): หุ้นตลาดเกิดใหม่ และหุ้นยุโรปพัฒนาแล้วมี PE (Price-to-Earnings) ต่ำที่สุด และหุ้นญี่ปุ่นมี PB (Price-to-Book) ต่ำที่สุด ● แนวโน้ม (Momentum): หุ้นญี่ปุ่นสร้างผลตอบแทนได้ดีที่สุดในปีที่ผ่านมา ● ความเสี่ยง (Risk): หุ้นเอเชียแปซิฟิก และหุ้นญี่ปุ่น มีอัตราหนี้สินต่อทุน (Gearing) ต่ำที่สุด น้ำหนัก: เราให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้น 25% โดยแบ่งเป็น 5% ในแต่ละภูมิภาค ● เราไม่ได้เปลี่ยนน้ำหนักการลงทุน มุมมอง: ราคาน้ำมันเริ่มปรับตัวลงมา แต่เงินเฟ้อยังคงสูง ● น้ำมันเป็นแหล่งพลังงานหลักสำหรับการเกษตร การผลิต และการคมนาคม ● ราคาน้ำมันที่ปรับตัวลงมาอาจช่วยชะลออัตราเงินเฟ้อ หรือทำให้อัตราเงินเฟ้อลดลงได้ ● อย่างไรก็ดี เรากลับพบว่า อัตราเงินเฟ้อยังคงสูงขึ้น มุมมอง: อัตราเงินเฟ้อปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่อง ● ราคาสินค้าและบริการที่แพงขึ้น เมื่อถึงจุดหนึ่งจะทำให้ความต้องการลดลง ● ฐานเงินเฟ้อที่สูงขึ้น จะแสดงระดับอัตราเงินเฟ้อที่ลดลง ● ดังนั้น เงินเฟ้ออาจเข้าใกล้จุดสูงสุดแล้ว แม้ว่าธนาคารกลางยังไม่ได้เข้าแทรกแซง ผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล 3 เดือนปรับตัวสูงขึ้นเป็น 3.8% จาก 1.4% ในปีที่ผ่านมา ● อย่างไรก็ดี อัตราเงินเฟ้อปรับตัวสูงขึ้นเร็วกว่าผลตอบแทนพันธบัตร ● เราคาดหวังว่าธนาคารกลางจะยังคงขึ้นดอกเบี้ยต่อ เพราะดูเหมือนว่ายังชะลอเงินเฟ้อไม่ได้ มุมมอง: ประธาน FED ตั้งมั่นที่จะหยุดยั้งเงินเฟ้อ ● ประธาน FED ยืนยันว่าความเดือดร้อนเป็นสิ่งที่จะเกิดขึ้น เพื่อให้เงินเฟ้อชะลอตัวลง ● “ข้อมูลจากการประชุมครั้งที่ผ่านมาแสดงให้เห็นว่าเป้าหมายดอกเบี้ยนโยบายอาจจะสูงกว่าที่คาดการณ์ไว้แต่แรก” ● FED จะพิจารณาผลลัพธ์จากการขึ้นดอกเบี้ยติดต่อกันหลายครั้ง ● หลายคนคาดว่าคำพูดของประธาน FED ส่งสัญญาณว่า FED กำลังจะลดขนาดการขึ้นดอกเบี้ย มุมมอง: ตลาดมองว่าเงินเฟ้อจะเข้าสู่ภาวะปกติ ● อัตราเงินเฟ้อคาดการณ์สหรัฐฯ 10 ปี อยู่ที่ 2.5% ส่งสัญญาณว่าตลาดคาดว่า FED จะควบคุมเงินเฟ้อได้ ● ถ้าการคาดการณ์เงินเฟ้อต่ำกว่าความจริง จะทำให้ราคาหุ้น สินค้าโภคภัณฑ์ และทองคำปรับตัวขึ้น มุมมอง: ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) ดูเหมือนว่าจะสูงที่สุดแล้ว ● ถ้าราคาน้ำมันไม่ปรับตัวขึ้นอย่างมีนัยสำคัญแล้ว เราคาดว่า CPI น่าจะผ่านจุดที่สูงที่สุดแล้ว ● แต่ว่าราคาน้ำมันที่อยู่ในระดับสูง น่าจะทำให้ราคาอาหารและสินค้าอื่น ๆ ทรงตัวในระดับสูง ทำให้ไม่น่าจะเห็นการปรับตัวลงของ CPI อย่างรวดเร็วภายใน 2-3 เดือนหน้า มุมมอง: การขึ้นดอกเบี้ยในเดือนธันวาคมได้ถูกตลาดคาดการณ์ไว้แล้ว (priced in) ● ตลาดมั่นใจ 100% ว่า FED จะขึ้นดอกเบี้ยในการประชุมครั้งถัดไป ● โดยเชื่อมั่น 61.5% ว่าจะมีการขึ้นดอกเบี้ย 0.5% เข้าสู่ระดับ 4.25-4.50% มุมมอง: การขึ้นดอกเบี้ยครั้งนี้เป็นการปรับขึ้นที่เร็วที่สุดตั้งแต่ช่วง 1980 ● ในการขึ้นดอกเบี้ยปี 2004 ดอกเบี้ยนโยบายปรับขึ้นรวม 4.25% ● ในการขึ้นดอกเบี้ยครั้งนี้ ดอกเบี้ยปรับขึ้นแล้ว 3.75% ● ตลาดคาดว่าดอกเบี้ยจะเข้าสู่ระดับ 4.25% ในเดือนธันวาคม 2022 และปรับเพิ่มขึ้นอีกในเดือนกุมภาพันธ์ 2023 มุมมอง: ดอกเบี้ยไม่เคยขึ้นสู่ระดับ 3% ด้วยความเร็วขนาดนี้ ตั้งแต่ช่วง 1950 มุมมอง: ตั้งแต่เดือนมีนาคม ตลาดคาดว่า FED จะดำเนินนโยบายเข้มงวดมากขึ้น ● ตลาดเชื่อว่าดอกเบี้ยนโยบายจะสูงสุดในเดือนมิถุนายน 2023 ● FED กำลังสู้กับเงินเฟ้ออย่างเข้มข้น แม้ว่าจะต้องเสี่ยงกับเภาวะศรษฐกิจถดถอย มุมมอง: ตลาดมองว่า FED เข้มงวดด้านนโยบายการเงินมากที่สุด ● ดอกเบี้ยนโยบายที่ต่ำกว่าของธนาคารกลางยุโรป (ECB) และธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) ทำให้เชื่อว่าเงินยูโร และเงินเยนจะอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐฯ มุมมอง: การกลับทิศของกราฟอัตราส่วนผลตอบแทนพันธบัตร (inverted yield-curve) รุนแรงขึ้น ● ตั้งแต่ปี 1970 inverted yield-curve จะเกิดขึ้นก่อนภาวะเศรษฐกิจถดถอย ● หลังจากเกิด inverted yield curve จะเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยโดยเฉลี่ยภายใน 1 ปี (ประมาณกลางปี 2023) มุมมอง: จับตาดูความแตกต่างระหว่างผลตอบแทนพันธบัตร (yield spread) ● อัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่แตกต่างกันมากขึ้น แสดงให้เห็นว่านักลงทุนต้องการผลตอบแทนที่มากขึ้น ให้คุ้มค่ากับความเสี่ยง ● สหภาพยุโรปมี yield spread ใกล้เคียงกับในช่วง COVID แล้ว แต่ yield spread ในสหรัฐฯ ยังต่ำกว่า และปรับตัวต่ำลงเรื่อย ๆ มุมมอง: หุ้นถูกประเมินมูลค่าต่ำลงมา โดยมาจากราคาที่ต่ำลงเป็นสำคัญ ● มูลค่าหุ้นโลกที่ถูกประเมินไว้ปรับตัวต่ำลงมากว่าค่าเฉลี่ยในอดีตเล็กน้อย ● แม้ว่าอัตราการทำกำไรจะต่ำกว่าเดิม แต่ว่ายังไม่มีการปรับประมาณการลงอย่างมีนัยสำคัญ มุมมอง: ความเห็นตลาดยังมองว่ากำไรของบริษัทจะเพิ่มขึ้น ● เป็นสิ่งที่ดี ● นักวิเคราะห์เชื่อว่ากำไรของบริษัทจะเติบโต 7% ในปีหน้า และจะเติบโตมากขึ้นเป็นลำดับ มุมมอง: ความเห็นตลาดยังมองว่ากำไรของบริษัทจะเพิ่มขึ้น ● เป็นสิ่งที่ดี ● นักวิเคราะห์เชื่อว่ากำไรของบริษัทจะเติบโต 7% ในปีหน้า และจะเติบโตมากขึ้นเป็นลำดับ มุมมอง: สำหรับภูมิภาคอื่น ๆ คาดว่าอัตราการทำกำไรจะลดลงต่อเนื่อง 2 ปี ● แม้ว่าจะมีความเสี่ยงเศรษฐกิจถดถอย แต่ว่ายังมีการเติบโตของกำไร (การเติบโตไม่ติดลบ) ● นักวิเคราะห์ค่อนข้างกังวลกับบริษัทในสหรัฐฯ ทั้งนี้ นักลงทุนมักจะมองโลกในแง่ดีกว่าความเป็นจริง และไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงของตลาดทันท่วงที รีวิว: ECB อาจจะชะลอการขึ้นดอกเบี้ย ● เงินเฟ้อปรับตัวสูงที่สุดอีกครั้งในเดือนตุลาคม ที่ระดับ 10.7% ● หลังจากการขึ้นดอกเบี้ย 0.75% ในเดือนตุลาคม ECB ส่งสัญญาณว่าจะลดอัตราการขึ้นดอกเบี้ยลงในเดือนธันวาคม ● อย่างไรก็ดี ถ้า FED ยังขึ้นดอกเบี้ยต่อเนื่อง แต่ ECB ลดอัตราการขึ้นดอกเบี้ยลง ค่าเงินยูโรอาจอ่อนตัวลงอีก ทำให้เกิดภาวะขาดดุลทางการค้า มุมมอง: ยังไม่มีการดำเนินนโยบายการเงินแบบตึงตัว (QT) เท่าไรนัก ● ธนาคารกลางเริ่มให้พันธบัตรหมดอายุ ทำให้งบดุลไม่โตขึ้นแล้ว ● งบดุลของ BOJ โตขึ้นเล็กน้อยในเดือนตุลาคม มุมมอง: เราเชื่อว่าธนาคารกลางจะกลับทิศนโยบายในอนาคต ● ธนาคารกลางสื่อสารว่าจะควบคุมให้เงินเฟ้อลดลง และนักลงทุนดูเหมือนว่าจะเชื่อเช่นนั้น ● เราเชื่อว่าธนาคารกลาง และนักการเมืองพร้อมที่จะเปลี่ยนนโยบาย หากมีความเสียหายเกิดขึ้นกับเศรษฐกิจ ● และเราเชื่อว่าธนาคารกลางกำลังจะทำให้เกิดความเสียหายกับเศรษฐกิจ มุมมอง: stagflation จะเป็นสิ่งเลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้น ● ถ้าธนาคารกลางชะลอการเติบโตของเศรษฐกิจ แต่ไม่สามารถหยุดเงินเฟ้อได้ จะเกิดภาวะ stagflation ● ภาวะ stagflation ส่งผลเสียต่อหุ้นและพันธบัตร ● สินค้าโภคภัณฑ์มักสร้างผลตอบแทนได้ดีในช่วงเงินเฟ้อ และทองคำมักสร้างผลตอบแทนได้ดีในช่วง stagflation ● เนื่องจากยังมีความไม่แน่นอนสูง เราจำกัดการลงทุนในหุ้น มุมมอง: ตลาดหุ้นสหรัฐฯ มีบทบาทมากต่อตลาดการเงินโลก ● เงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นเหมือนสินทรัพย์ปลอดภัย ซึ่งการขึ้นดอกเบี้ยและการทำ QT จะทำให้ค่าเงินดอลลาร์แข็งขึ้นอีก ● เราเชื่อว่าตลาดหุ้นสหรัฐฯ มีความยืดหยุ่นต่อความเสี่ยงได้ดีกว่าตลาดหุ้นอื่น ● เรายังให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้นในแต่ละภูมิภาคอย่างน้อย 5% เนื่องจากเราเชื่อว่าตลาดหุ้นยังอ่อนแอ มุมมอง: ECB ก็ต้องสู้กับเงินเฟ้อเช่นกัน ● ราคาพลังงานที่สูงขึ้นจะกดดันการบริโภค และการผลิต ● เราคงน้ำหนัก 5% ในการลงทุนในตลาดหุ้นยุโรปกลุ่มพัฒนาแล้ว มุมมอง: การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ส่งผลลบต่อตลาดเกิดใหม่ ● การขึ้นดอกเบี้ยของ FED น่าจะทำให้เงินเหรียญสหรัฐฯ แข็งค่า สภาพคล่องในระบบลดลง และทำให้ตลาดเกิดใหม่ได้รับผลกระทบเชิงลบได้ ● เงินเหรียญสหรัฐฯ ถือเป็นสินทรัพย์ปลอดภัย (safe haven) ซึ่งนักลงทุนอาจใช้พักเงินในช่วงที่สถานการณ์โลกมีความไม่แน่นอนสูง มุมมอง: การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และเศรษฐกิจจีนยังเป็นข้อกังวล ● การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำให้การชำระหนี้ที่เป็นเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำได้ยากขึ้น เนื่องจากจะต้องใช้เงินสกุลท้องถิ่นมาแลกมากขึ้น ● เรายังไม่เชื่อมั่นว่าเศรษฐกิจจีนจะฟื้นตัว ● ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ได้ครองอำนาจอีกครั้ง และการควบคุมเงินเฟ้อของรัฐบาลอาจกดดันภาคเศรษฐกิจและรายได้ของบริษัท ตลอดจนนโยบายโควิดเป็นศูนย์ (zero-covid policy) ยังไม่ได้ถูกยกเลิก มุมมอง: หุ้นจีนยังคงกดดันผลตอบแทนหุ้นตลาดเกิดใหม่ และตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่น ● หุ้นจีนน่าจะยังคงกดดันผลตอบแทนหุ้นตลาดเกิดใหม่ และตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่นต่อไป ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นตลาดเกิดใหม่ และ 5% ในหุ้นตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่น มุมมอง: เงินเยนน่าจะอ่อนค่าต่อไป ● BOJ ยังคงดอกเบี้ยนโยบายที่ระดับต่ำ และคาดหวังว่าอัตราเงินเฟ้อจะเพิ่มสูงขึ้น ● เราให้น้ำหนัก 5% ในตลาดหุ้นญี่ปุ่น มุมมอง: เราให้น้ำหนัก 25% ในพันธบัตร ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนน้ำหนักในการลงทุน มุมมอง: พันธบัตรยังเป็นการลงทุนที่ปลอดภัย แม้ว่าในปี 2022 จะให้ผลตอบแทนที่ค่อนข้างแย่ ● ในช่วงเศรษฐกิจถดถอย การลงทุนในสินทรัพย์ปลอดภัย เช่น พันธบัตรรัฐบาล มักให้ผลตอบแทนดี ● อย่างไรก็ดี ในช่วงที่เงินเฟ้อสูง อัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่ต่ำ อาจทำให้อัตราผลตอบแทนที่แท้จริง (real return) ติดลบ ● เราไม่ได้ใช้พันธบัตรในการเก็งกำไร เพื่อสร้างผลตอบแทน แต่เรามองว่าพันธบัตรสามารถป้องกันความเสี่ยงได้ดี มุมมอง: เราให้น้ำหนักสินค้าโภคภัณฑ์ที่ 25% ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนน้ำหนักในการลงทุน มุมมอง: แม้ว่าราคาก๊าซธรรมชาติจะกลับมาอยู่ในระดับเดียวกันเดือนมิถุนายน 2021 แต่ราคาน้ำมันยังคงสูง ● ราคาก๊าซธรรมชาติในยุโรปกลับเข้าสู่ระดับปกติ เนื่องจากมีสำรองเพียงพอ และสภาพภูมิอากาศไม่รุนแรงนัก มุมมอง: ตลาดเชื่อว่าราคาก๊าซธรรมชาติจะกลับมาแพงขึ้น ● การพึ่งพิงพลังงานจากรัสเซียจะส่งผลกระทบต่อตลาดพลังงานในยุโรป ● ถ้าอากาศหนาวเย็นลง ปริมาณก๊าซสำรองอาจลดลงอย่างรวดเร็ว ทำให้ราคาปรับตัวขึ้น มุมมอง: ปัจจัยพื้นฐานยังสนับสนุนราคาน้ำมัน ● กลุ่ม OPEC+ ผลิตได้ไม่เป็นไปตามเป้า และมีการลดกำลังการผลิต ทำให้ราคาน้ำมันน่าจะอยู่ในระดับสูงต่อไป ● สงครามในยูเครนน่าจะก่อให้เกิดปัญหาด้านอุปทานต่ออีกระยะหนึ่ง ● ราคาพลังงานน่าจะอยู่ในระดับสูงต่อไป จากการลงทุนที่ไม่เพียงพอในโครงการใหม่ ๆ มุมมอง: อุปทานสำหรับสินค้าทางการเกษตรอาจตึงตัวมากขึ้นอีก ● นอกจากพลังงานแล้ว รัสเซียยังเป็นผู้ส่งออกโลหะอุตสาหกรรมหลายชนิด รวมถึงรัสเซีย และยูเครนยังเป็นผู้ส่งออกสำคัญของสินค้าทางการเกษตร ● ลานีญ่า (La Nina) อาจทำให้อุปทานสินค้าเกษตร เช่น ข้าวโพด ถั่วเหลือง และแป้ง ลดลง ซึ่งลานีญ่านี้เองทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไป เกิดพายุรุนแรง และความแห้งแล้ง ซึ่งผลกระทบอาจแตกต่างกันตามภูมิภาค มุมมอง: ราคาพลังงานที่สูงขึ้น ส่งผลต่อราคาอาหาร แต่ราคาธัญพืชฟื้นตัวได้เล็กน้อยในเดือนกันยายน ● ก๊าซธรรมชาติใช้ในการทำปุ๋ย และราคาที่เพิ่มขึ้นของปุ๋ยทำให้เมล็ดพันธุ์ต้องปรับราคาขึ้นตามไปด้วย ● เมื่อราคาก๊าซธรรมชาติต่ำลง บริษัทผลิตปุ๋ยอาจกลับมาผลิตปุ๋ยอีกครั้ง ● ข้าวโพดถูกใช้เป็นอาหารของสัตว์ ซึ่งราคาข้าวโพดที่แพงขึ้นทำให้ราคาเนื้อสัตว์ปรับขึ้นตาม มุมมอง: ดัชนีราคาอาหารโลกปรับขึ้นสูงที่สุดในเดือนมีนาคม 2022 ที่ 160 และปัจจุบันอยู่ที่ 136 ในเดือนกันยายน 2022 ● การห้ามการส่งออกอาหารของบางประเทศทำให้เกิดการขาดแคลนอาหารและทำให้ราคาอาหารสูงขึ้น ● ราคาน้ำมันพืชและธัญพืชที่ปรับตัวลงทำให้ดัชนีราคาอาหารปรับตัวลง ● ราคาเนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์จากนมอยู่ในระดับเดียวกับเดือนมีนาคม 2022 มุมมอง: ราคาสินค้าโภคภัณฑ์น่าจะยังปรับขึ้นต่อได้ ● การฟื้นตัวของความต้องการ (อาหารและพลังงาน) ภาวะเงินเฟ้อ และปัญหาห่วงโซ่อุปทาน ทั้งที่เกี่ยวและไม่เกี่ยวกับสงครามจะผลักดันให้สินค้าโภคภัณฑ์ปรับตัวสูงขึ้น ● การเปิดเมืองอีกครั้งของจีนจะทำให้ความต้องการสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● ถ้าเกิดภาวะ stagflation คาดว่าสินค้าโภคภัณฑ์จะสร้างผลตอบแทนได้ดี มุมมอง: เราให้น้ำหนักทองคำที่ 25% ● เราไม่ได้เปลี่ยนแปลงน้ำหนักการลงทุน มุมมอง: ทองคำจะเป็นเหมือนหลักประกันป้องกันความเสี่ยง ● สงครามในยูเครนทำให้เกิดความไม่แน่นอน ผลักดันความคาดหวังอัตราเงินเฟ้อ ทำให้สินทรัพย์ปลอดภัย เช่น ทองคำ ได้รับความสนใจมากขึ้น ● อย่างไรก็ดี ความคาดหวังการขึ้นดอกเบี้ย อาจกดดันราคาทองคำ ● โดยทั่วไป ทองคำจะช่วยป้องกันความเสี่ยงในช่วงตลาดขาลงได้ ความเสี่ยง: เงินเฟ้อถูกควบคุมได้อย่างรวดเร็ว ● ถ้าธนาคารกลางสร้างความแปลกใจให้กับตลาดด้วยการขึ้นดอกเบี้ยเร็วและแรง พร้อมกับการดึงสภาพคล่องออกจากตลาด อาจจะทำให้ตลาดหุ้นปรับตัวลงอย่างรุนแรง ● เราไม่ได้ให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้นมาก หากธนาคารกลางปรับเปลี่ยนนโยบาย และหุ้นปรับตัวสูงขึ้น อาจทำให้เราเสียโอกาสบ้าง ● เศรษฐกิจจีนที่อ่อนแออาจลดความต้องการของสินค้าโภคภัณฑ์ กดดันทำให้ราคาต่ำลงได้ ● ราคาสินค้าโภคภัณฑ์อื่นอาจปรับตัวลงพร้อมกับราคาพลังงาน เนื่องจากพลังงานเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิต ข้อสรุปที่สำคัญ ● AWS สร้างผลตอบแทนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 2.7% ในเดือนตุลาคม 2022 ● ธนาคารกลางกำลังขึ้นดอกเบี้ยในช่วงที่เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอย เพื่อชะลออัตราเงินเฟ้อ โดย stagflation เป็นสิ่งที่เลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้นได้ ● ความต้องการสินค้าจำเป็น (อาหารและพลังงาน) ภาวะเงินเฟ้อ และปัญหาห่วงโซ่อุปทานจะทำใหราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● พันธบัตรและทองคำใช้ในการลดความเสี่ยง ● ความเสี่ยง: เงินเฟ้อควบคุมได้ นโยบายการเงินทำให้ตลาดหุ้นปรับลงอย่างรุนแรง และเศรษฐกิจจีนที่อ่อนแอ

อัปเดต: พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษให้ผลตอบแทนแย่อย่างมีนัยสำคัญในช่วงปีที่ผ่านมา

อัปเดต: หุ้นกู้เอกชนทำผลงานได้แย่ในปีนี้ อัปเดต: หุ้นกู้เอกชนทำผลงานได้แย่ในปีนี้ อัปเดต: พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษให้ผลตอบแทนแย่อย่างมีนัยสำคัญในช่วงปีที่ผ่านมา อัปเดต: พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษให้ผลตอบแทนแย่อย่างมีนัยสำคัญในช่วงปีที่ผ่านมา กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (REIT) ก็ไม่สามารถป้องกันความเสี่ยงจากอัตราเงินเฟ้อได้ อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยของสหรัฐฯ ทำให้ค่าผ่อนบ้านสูงขึ้นมาก อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยมักจะตามมาด้วยราคาบ้านที่ลดลง อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยมักจะตามมาด้วยราคาบ้านที่ลดลง อัปเดต: เงินเหรียญสหรัฐฯ มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น อัปเดต: เงินเหรียญสหรัฐฯ มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น ● เงินเหรียญสหรัฐฯ ถูกใช้ในธุรกรรมทางการเงินกว่า 40% ของธุรกรรมทั้งหมด อัปเดต: เงินยูโรอ่อนค่าลงมากเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐฯ อัปเดต: ค่าเงินยูโรที่อ่อนค่าทำให้ดุลการค้าของเยอรมนีลดลงอย่างมีนัยสำคัญ อัปเดต: เงินเยนอ่อนตัวเนื่องจากธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) เข้าแทรกแซง อัปเดต: สหรัฐฯ และจีนยังคงมีความขัดแย้งเรื่องเทคโนโลยีเซมิคอนดักเตอร์ อัปเดต: จีนขยายอิทธิพลในห่วงโซ่การค้าโลก อัปเดต: จีนขยายอิทธิพลในห่วงโซ่การค้าโลก อัปเดต: ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ครองอำนาจต่ออีกครั้ง ● อดีตประธานาธิบดี หู จิ่นเทา ถูกพาตัวออกจากการประชุมพรรคคอมมิวนิสต์จีน ในวันที่ 22 ตุลาคม 2022 อัปเดต: การขาดแคลนอุปทานในเชิงโครงสร้างเป็นผลดีต่อราคาสินค้าโภคภัณฑ์ อัปเดต: OPEC+ ลดโควตาการผลิตน้ำมัน ซึ่งน่าจะทำให้อุปทานน้ำมันโลกลดลง อัปเดต: ประธานาธิบดี โจ ไบเดน ต้องการที่จะเพิ่มภาษีให้กับบริษัทผู้ผลิตพลังงาน ซึ่งจะลดแรงจูงใจในการลงทุน อัปเดต: เราอาจเห็นการรวมกลุ่มกันของกลุ่มผู้ผลิตสินแร่ที่ต้องใช้ในแบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้า คล้ายกับการรวมกลุ่มกันของ OPEC อัปเดต: ธนาคารกลางเริ่มเก็บสะสมทองคำมากขึ้น ข้อสรุปที่สำคัญ ● พันธบัตรทำผลงานได้ไม่ดีในปีนี้ ● เงินดอลลาร์สหรัฐฯ แข็งค่าขึ้นมาก และยังคงเป็นสกุลเงินสำรองหลักของโลก การแข็งค่าของเงินดอลลาร์กดดันเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ● ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ครองอำนาจต่อ ● ปัญหาการขาดแคลนอุปทานจะช่วยให้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● ธนาคารกลางเริ่มเก็บสะสมทองคำ รีวิว: เราให้น้ำหนักการลงทุน 25% ในแต่ละสินทรัพย์ ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักในครั้งนี้ รีวิว: หุ้นโลกปรับตัวลงในปี 2022 แต่ปรับตัวขึ้น 5.9% ในเดือนตุลาคม ● หุ้นโลกปรับตัวขึ้น 19.0% ในปี 2021 แต่ตั้งแต่ต้นปี 2022 ปรับตัวลง 20.8% ● ตลาดปรับตัวขึ้น เพราะความหวังว่าธนาคารกลางจะกลับทิศนโยบาย รีวิว: หุ้นสหรัฐฯ ทำผลงานได้ดีที่สุดเป็นอันดับ 2 ในเดือนตุลาคม โดยปรับขึ้น 8.3% ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นสหรัฐฯ ● การคาดการณ์ว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) จะผ่อนคลายท่าทีลง และ GDP ที่ขยายตัวมากกว่าที่ประมาณการไว้ทำให้หุ้นฟื้นตัวขึ้น รีวิว: หุ้นยุโรปทำผลงานได้ดีที่สุด โดยปรับตัวขึ้น 8.9% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นยุโรปกลุ่มพัฒนาแล้ว ● การฟื้นตัวของหุ้นยุโรปก็มาจากความคาดหวังว่าธนาคารกลางจะชะลอความเร็วในการขึ้นดอกเบี้ยลง รีวิว: ตลาดเกิดใหม่ปรับตัวลง 3.3% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นตลาดเกิดใหม่ โดยทำผลงานได้แย่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ● การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ กดดันผลตอบแทนของตลาดเกิดใหม่ รีวิว: หุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น ปรับตัวลงมากที่สุดเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน โดยปรับตัวลง 4.8% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น ● การปรับตัวลงของหุ้นจีน และไต้หวัน รวมถึงการแข็งค่าของดอลลาร์สหรัฐฯ กดดันผลตอบแทนของตลาดหุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น รีวิว: ตลาดญี่ปุ่นสร้างผลตอบแทนได้ดีเป็นอันดับ 3 ในเดือนตุลาคม โดยปรับตัวขึ้น 4.4% ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นญี่ปุ่น ● หุ้นญี่ปุ่นฟื้นตัวจากความคาดหวังของการผ่อนคลายท่าทีของ FED รีวิว: ตลาดตราสารหนี้ไทยทรงตัว ● เราให้น้ำหนัก 5% กับตราสารหนี้ไทย (แทนที่จะเป็นตราสารหนี้ต่างประเทศ) ซึ่งทรงตัวในช่วงที่ผ่านมา ● วัตถุประสงค์หลักของการลงทุนในตราสารหนี้ เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากตลาดขาลง รีวิว: ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ให้ผลตอบแทน 3.1% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 25% กับสินค้าโภคภัณฑ์ ● ราคาสินค้าโภคภัณฑ์เป็นขาขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่เดือนเมษายน 2020 รีวิว: น้ำมันดิบ WTI ฟื้นตัวเล็กน้อย โดยราคาปิด ณ สิ้นเดือนตุลาคม อยู่ที่ 87 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล รีวิว: พลังงานสร้างผลตอบแทนดีที่สุด รองลงมาคือปศุสัตว์ ● การลดจำนวนโควต้าการผลิตของ OPEC+ ทำให้ราคาน้ำมันสูงขึ้น ● เราเห็นการฟื้นตัวของราคาปศุสัตว์ เช่นกัน รีวิว: ทองคำปรับตัวลงในปี 2022 โดยปรับตัวลง 2.3% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 25% ในทองคำ ● ราคาทองคำอยู่ที่ 1,633 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อออนซ์ ● การฟื้นตัวของหุ้น ทำให้ราคาสินทรัพย์ปลอดภัย เช่น ทองคำ ถูกกดดัน รีวิว: ความอ่อนแอของผลตอบแทนจากการลงทุนในทองคำมีส่วนสำคัญจากการแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ● เสมือนว่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นคู่แลกเปลี่ยน โดยการแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำให้ราคาทองคำต่ำลงในรูปเหรียญสหรัฐฯ ● และหมายความว่า ผลตอบแทนของทองคำ ขึ้นอยู่กับเงินสกุลท้องถิ่นต่าง ๆ ด้วย รีวิว: มีเพียงเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และสวิสฟรังก์เท่านั้น ที่แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับราคาทองคำในปี 2022 ● ในเดือนตุลาคม เงินเยน และเงินหยวนสามารถซื้อทองคำได้น้อยลง (ค่าเงินอ่อนเมื่อเทียบกับทองคำ) ● ขณะที่เงินสกุลอื่น ๆ แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับทองคำ ● เงินเหรียญสหรัฐฯ 3 เดือนที่ผ่านมา แข็งค่าขึ้นกว่าเดิม 4.1% เมื่อเทียบกับทองคำ โดยแข็งกว่าปีก่อนหน้า 4.0% ● เงินปอนด์อังกฤษ 3 เดือนที่ผ่านมา แข็งค่าขึ้น 2.7% เมื่อเทียบกับทองคำ โดยแข็งกว่าปีก่อน 2.6% รีวิว: AWS ปรับตัวขึ้น 0.8% ในเดือนตุลาคม และทำผลงานเหนือกว่าพอร์ต 60/40 เมื่อนับตั้งแต่ก่อตั้ง ● ตั้งแต่ตั้งพอร์ต AWS ให้ผลตอบแทนสูงกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 4.8% ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2022 เดือนตุลาคม 2022: AWS สร้างผลตอบแทนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 2.7% ● รีวิวผลตอบแทนของสินทรัพย์ต่าง ๆ ที่เราให้น้ำหนัก 25% ● สินค้าโภคภัณฑ์: ทำผลงานได้ดี แต่ต่ำกว่าหุ้น ● พันธบัตร: ผลงานทรงตัว ● ทองคำ: สร้างผลตอบแทนเป็นลบ เพราะนักลงทุนชอบความเสี่ยงมากขึ้น รีวิว: AWS สร้างผลตอบแทนได้ดี ● AWS ให้ผลตอบแทนสูงกว่าพอร์ต 60/40 ในช่วงเวลาส่วนใหญ่ ● ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมาถือเป็นช่วงเวลาที่ท้าทาย รีวิว: AWS มีความผันผวนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 ● สัดส่วนการลงทุนในหุ้น 25-65% ช่วยลดความผันผวน ● ทองคำช่วยลดความผันผวนโดยรวมของพอร์ต เนื่องจากเป็นสินทรัพย์ที่ไม่มีความสัมพันธ์กับหุ้น รีวิว: AWS ขาดทุนน้อยกว่าพอร์ตการลงทุนดั้งเดิมแบบ 60/40 9 ครั้งจาก 10 ครั้งในช่วงที่ตลาดหุ้นปรับตัวลงมากที่สุด ● จุดเด่นสำคัญของ AWS คือ การจำกัดการขาดทุนเมื่อตลาดหุ้นโลกปรับตัวลง ● นับตั้งแต่จัดตั้ง AWS ขาดทุนน้อยกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 9 วันถ้านับจากใน 10 วันที่หุ้นโลกทำผลงานได้ย่ำแย่ที่สุด รีวิว: AWS ทำผลงานแย่กว่าพอร์ตการลงทุนดั้งเดิมแบบ 60/40 ในเดือนตุลาคม แต่ยังทำผลงานเหนือกว่าพอร์ต 60/40 ใน 59% ของเดือนทั้งหมด ● AWS สามารถสร้างผลตอบแทนเหนือกว่าพอร์ต 60/40 ใน 26 เดือนจาก 44 เดือน สรุป FVMR แต่ละภูมิภาค ● พื้นฐาน (Fundamentals): หุ้นสหรัฐฯ มีผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ROE (Return on Equity) สูงที่สุด ● มูลค่า (Valuation): หุ้นตลาดเกิดใหม่ และหุ้นยุโรปพัฒนาแล้วมี PE (Price-to-Earnings) ต่ำที่สุด และหุ้นญี่ปุ่นมี PB (Price-to-Book) ต่ำที่สุด ● แนวโน้ม (Momentum): หุ้นญี่ปุ่นสร้างผลตอบแทนได้ดีที่สุดในปีที่ผ่านมา ● ความเสี่ยง (Risk): หุ้นเอเชียแปซิฟิก และหุ้นญี่ปุ่น มีอัตราหนี้สินต่อทุน (Gearing) ต่ำที่สุด น้ำหนัก: เราให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้น 25% โดยแบ่งเป็น 5% ในแต่ละภูมิภาค ● เราไม่ได้เปลี่ยนน้ำหนักการลงทุน มุมมอง: ราคาน้ำมันเริ่มปรับตัวลงมา แต่เงินเฟ้อยังคงสูง ● น้ำมันเป็นแหล่งพลังงานหลักสำหรับการเกษตร การผลิต และการคมนาคม ● ราคาน้ำมันที่ปรับตัวลงมาอาจช่วยชะลออัตราเงินเฟ้อ หรือทำให้อัตราเงินเฟ้อลดลงได้ ● อย่างไรก็ดี เรากลับพบว่า อัตราเงินเฟ้อยังคงสูงขึ้น มุมมอง: อัตราเงินเฟ้อปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่อง ● ราคาสินค้าและบริการที่แพงขึ้น เมื่อถึงจุดหนึ่งจะทำให้ความต้องการลดลง ● ฐานเงินเฟ้อที่สูงขึ้น จะแสดงระดับอัตราเงินเฟ้อที่ลดลง ● ดังนั้น เงินเฟ้ออาจเข้าใกล้จุดสูงสุดแล้ว แม้ว่าธนาคารกลางยังไม่ได้เข้าแทรกแซง ผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล 3 เดือนปรับตัวสูงขึ้นเป็น 3.8% จาก 1.4% ในปีที่ผ่านมา ● อย่างไรก็ดี อัตราเงินเฟ้อปรับตัวสูงขึ้นเร็วกว่าผลตอบแทนพันธบัตร ● เราคาดหวังว่าธนาคารกลางจะยังคงขึ้นดอกเบี้ยต่อ เพราะดูเหมือนว่ายังชะลอเงินเฟ้อไม่ได้ มุมมอง: ประธาน FED ตั้งมั่นที่จะหยุดยั้งเงินเฟ้อ ● ประธาน FED ยืนยันว่าความเดือดร้อนเป็นสิ่งที่จะเกิดขึ้น เพื่อให้เงินเฟ้อชะลอตัวลง ● “ข้อมูลจากการประชุมครั้งที่ผ่านมาแสดงให้เห็นว่าเป้าหมายดอกเบี้ยนโยบายอาจจะสูงกว่าที่คาดการณ์ไว้แต่แรก” ● FED จะพิจารณาผลลัพธ์จากการขึ้นดอกเบี้ยติดต่อกันหลายครั้ง ● หลายคนคาดว่าคำพูดของประธาน FED ส่งสัญญาณว่า FED กำลังจะลดขนาดการขึ้นดอกเบี้ย มุมมอง: ตลาดมองว่าเงินเฟ้อจะเข้าสู่ภาวะปกติ ● อัตราเงินเฟ้อคาดการณ์สหรัฐฯ 10 ปี อยู่ที่ 2.5% ส่งสัญญาณว่าตลาดคาดว่า FED จะควบคุมเงินเฟ้อได้ ● ถ้าการคาดการณ์เงินเฟ้อต่ำกว่าความจริง จะทำให้ราคาหุ้น สินค้าโภคภัณฑ์ และทองคำปรับตัวขึ้น มุมมอง: ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) ดูเหมือนว่าจะสูงที่สุดแล้ว ● ถ้าราคาน้ำมันไม่ปรับตัวขึ้นอย่างมีนัยสำคัญแล้ว เราคาดว่า CPI น่าจะผ่านจุดที่สูงที่สุดแล้ว ● แต่ว่าราคาน้ำมันที่อยู่ในระดับสูง น่าจะทำให้ราคาอาหารและสินค้าอื่น ๆ ทรงตัวในระดับสูง ทำให้ไม่น่าจะเห็นการปรับตัวลงของ CPI อย่างรวดเร็วภายใน 2-3 เดือนหน้า มุมมอง: การขึ้นดอกเบี้ยในเดือนธันวาคมได้ถูกตลาดคาดการณ์ไว้แล้ว (priced in) ● ตลาดมั่นใจ 100% ว่า FED จะขึ้นดอกเบี้ยในการประชุมครั้งถัดไป ● โดยเชื่อมั่น 61.5% ว่าจะมีการขึ้นดอกเบี้ย 0.5% เข้าสู่ระดับ 4.25-4.50% มุมมอง: การขึ้นดอกเบี้ยครั้งนี้เป็นการปรับขึ้นที่เร็วที่สุดตั้งแต่ช่วง 1980 ● ในการขึ้นดอกเบี้ยปี 2004 ดอกเบี้ยนโยบายปรับขึ้นรวม 4.25% ● ในการขึ้นดอกเบี้ยครั้งนี้ ดอกเบี้ยปรับขึ้นแล้ว 3.75% ● ตลาดคาดว่าดอกเบี้ยจะเข้าสู่ระดับ 4.25% ในเดือนธันวาคม 2022 และปรับเพิ่มขึ้นอีกในเดือนกุมภาพันธ์ 2023 มุมมอง: ดอกเบี้ยไม่เคยขึ้นสู่ระดับ 3% ด้วยความเร็วขนาดนี้ ตั้งแต่ช่วง 1950 มุมมอง: ตั้งแต่เดือนมีนาคม ตลาดคาดว่า FED จะดำเนินนโยบายเข้มงวดมากขึ้น ● ตลาดเชื่อว่าดอกเบี้ยนโยบายจะสูงสุดในเดือนมิถุนายน 2023 ● FED กำลังสู้กับเงินเฟ้ออย่างเข้มข้น แม้ว่าจะต้องเสี่ยงกับเภาวะศรษฐกิจถดถอย มุมมอง: ตลาดมองว่า FED เข้มงวดด้านนโยบายการเงินมากที่สุด ● ดอกเบี้ยนโยบายที่ต่ำกว่าของธนาคารกลางยุโรป (ECB) และธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) ทำให้เชื่อว่าเงินยูโร และเงินเยนจะอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐฯ มุมมอง: การกลับทิศของกราฟอัตราส่วนผลตอบแทนพันธบัตร (inverted yield-curve) รุนแรงขึ้น ● ตั้งแต่ปี 1970 inverted yield-curve จะเกิดขึ้นก่อนภาวะเศรษฐกิจถดถอย ● หลังจากเกิด inverted yield curve จะเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยโดยเฉลี่ยภายใน 1 ปี (ประมาณกลางปี 2023) มุมมอง: จับตาดูความแตกต่างระหว่างผลตอบแทนพันธบัตร (yield spread) ● อัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่แตกต่างกันมากขึ้น แสดงให้เห็นว่านักลงทุนต้องการผลตอบแทนที่มากขึ้น ให้คุ้มค่ากับความเสี่ยง ● สหภาพยุโรปมี yield spread ใกล้เคียงกับในช่วง COVID แล้ว แต่ yield spread ในสหรัฐฯ ยังต่ำกว่า และปรับตัวต่ำลงเรื่อย ๆ มุมมอง: หุ้นถูกประเมินมูลค่าต่ำลงมา โดยมาจากราคาที่ต่ำลงเป็นสำคัญ ● มูลค่าหุ้นโลกที่ถูกประเมินไว้ปรับตัวต่ำลงมากว่าค่าเฉลี่ยในอดีตเล็กน้อย ● แม้ว่าอัตราการทำกำไรจะต่ำกว่าเดิม แต่ว่ายังไม่มีการปรับประมาณการลงอย่างมีนัยสำคัญ มุมมอง: ความเห็นตลาดยังมองว่ากำไรของบริษัทจะเพิ่มขึ้น ● เป็นสิ่งที่ดี ● นักวิเคราะห์เชื่อว่ากำไรของบริษัทจะเติบโต 7% ในปีหน้า และจะเติบโตมากขึ้นเป็นลำดับ มุมมอง: ความเห็นตลาดยังมองว่ากำไรของบริษัทจะเพิ่มขึ้น ● เป็นสิ่งที่ดี ● นักวิเคราะห์เชื่อว่ากำไรของบริษัทจะเติบโต 7% ในปีหน้า และจะเติบโตมากขึ้นเป็นลำดับ มุมมอง: สำหรับภูมิภาคอื่น ๆ คาดว่าอัตราการทำกำไรจะลดลงต่อเนื่อง 2 ปี ● แม้ว่าจะมีความเสี่ยงเศรษฐกิจถดถอย แต่ว่ายังมีการเติบโตของกำไร (การเติบโตไม่ติดลบ) ● นักวิเคราะห์ค่อนข้างกังวลกับบริษัทในสหรัฐฯ ทั้งนี้ นักลงทุนมักจะมองโลกในแง่ดีกว่าความเป็นจริง และไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงของตลาดทันท่วงที รีวิว: ECB อาจจะชะลอการขึ้นดอกเบี้ย ● เงินเฟ้อปรับตัวสูงที่สุดอีกครั้งในเดือนตุลาคม ที่ระดับ 10.7% ● หลังจากการขึ้นดอกเบี้ย 0.75% ในเดือนตุลาคม ECB ส่งสัญญาณว่าจะลดอัตราการขึ้นดอกเบี้ยลงในเดือนธันวาคม ● อย่างไรก็ดี ถ้า FED ยังขึ้นดอกเบี้ยต่อเนื่อง แต่ ECB ลดอัตราการขึ้นดอกเบี้ยลง ค่าเงินยูโรอาจอ่อนตัวลงอีก ทำให้เกิดภาวะขาดดุลทางการค้า มุมมอง: ยังไม่มีการดำเนินนโยบายการเงินแบบตึงตัว (QT) เท่าไรนัก ● ธนาคารกลางเริ่มให้พันธบัตรหมดอายุ ทำให้งบดุลไม่โตขึ้นแล้ว ● งบดุลของ BOJ โตขึ้นเล็กน้อยในเดือนตุลาคม มุมมอง: เราเชื่อว่าธนาคารกลางจะกลับทิศนโยบายในอนาคต ● ธนาคารกลางสื่อสารว่าจะควบคุมให้เงินเฟ้อลดลง และนักลงทุนดูเหมือนว่าจะเชื่อเช่นนั้น ● เราเชื่อว่าธนาคารกลาง และนักการเมืองพร้อมที่จะเปลี่ยนนโยบาย หากมีความเสียหายเกิดขึ้นกับเศรษฐกิจ ● และเราเชื่อว่าธนาคารกลางกำลังจะทำให้เกิดความเสียหายกับเศรษฐกิจ มุมมอง: stagflation จะเป็นสิ่งเลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้น ● ถ้าธนาคารกลางชะลอการเติบโตของเศรษฐกิจ แต่ไม่สามารถหยุดเงินเฟ้อได้ จะเกิดภาวะ stagflation ● ภาวะ stagflation ส่งผลเสียต่อหุ้นและพันธบัตร ● สินค้าโภคภัณฑ์มักสร้างผลตอบแทนได้ดีในช่วงเงินเฟ้อ และทองคำมักสร้างผลตอบแทนได้ดีในช่วง stagflation ● เนื่องจากยังมีความไม่แน่นอนสูง เราจำกัดการลงทุนในหุ้น มุมมอง: ตลาดหุ้นสหรัฐฯ มีบทบาทมากต่อตลาดการเงินโลก ● เงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นเหมือนสินทรัพย์ปลอดภัย ซึ่งการขึ้นดอกเบี้ยและการทำ QT จะทำให้ค่าเงินดอลลาร์แข็งขึ้นอีก ● เราเชื่อว่าตลาดหุ้นสหรัฐฯ มีความยืดหยุ่นต่อความเสี่ยงได้ดีกว่าตลาดหุ้นอื่น ● เรายังให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้นในแต่ละภูมิภาคอย่างน้อย 5% เนื่องจากเราเชื่อว่าตลาดหุ้นยังอ่อนแอ มุมมอง: ECB ก็ต้องสู้กับเงินเฟ้อเช่นกัน ● ราคาพลังงานที่สูงขึ้นจะกดดันการบริโภค และการผลิต ● เราคงน้ำหนัก 5% ในการลงทุนในตลาดหุ้นยุโรปกลุ่มพัฒนาแล้ว มุมมอง: การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ส่งผลลบต่อตลาดเกิดใหม่ ● การขึ้นดอกเบี้ยของ FED น่าจะทำให้เงินเหรียญสหรัฐฯ แข็งค่า สภาพคล่องในระบบลดลง และทำให้ตลาดเกิดใหม่ได้รับผลกระทบเชิงลบได้ ● เงินเหรียญสหรัฐฯ ถือเป็นสินทรัพย์ปลอดภัย (safe haven) ซึ่งนักลงทุนอาจใช้พักเงินในช่วงที่สถานการณ์โลกมีความไม่แน่นอนสูง มุมมอง: การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และเศรษฐกิจจีนยังเป็นข้อกังวล ● การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำให้การชำระหนี้ที่เป็นเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำได้ยากขึ้น เนื่องจากจะต้องใช้เงินสกุลท้องถิ่นมาแลกมากขึ้น ● เรายังไม่เชื่อมั่นว่าเศรษฐกิจจีนจะฟื้นตัว ● ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ได้ครองอำนาจอีกครั้ง และการควบคุมเงินเฟ้อของรัฐบาลอาจกดดันภาคเศรษฐกิจและรายได้ของบริษัท ตลอดจนนโยบายโควิดเป็นศูนย์ (zero-covid policy) ยังไม่ได้ถูกยกเลิก มุมมอง: หุ้นจีนยังคงกดดันผลตอบแทนหุ้นตลาดเกิดใหม่ และตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่น ● หุ้นจีนน่าจะยังคงกดดันผลตอบแทนหุ้นตลาดเกิดใหม่ และตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่นต่อไป ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นตลาดเกิดใหม่ และ 5% ในหุ้นตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่น มุมมอง: เงินเยนน่าจะอ่อนค่าต่อไป ● BOJ ยังคงดอกเบี้ยนโยบายที่ระดับต่ำ และคาดหวังว่าอัตราเงินเฟ้อจะเพิ่มสูงขึ้น ● เราให้น้ำหนัก 5% ในตลาดหุ้นญี่ปุ่น มุมมอง: เราให้น้ำหนัก 25% ในพันธบัตร ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนน้ำหนักในการลงทุน มุมมอง: พันธบัตรยังเป็นการลงทุนที่ปลอดภัย แม้ว่าในปี 2022 จะให้ผลตอบแทนที่ค่อนข้างแย่ ● ในช่วงเศรษฐกิจถดถอย การลงทุนในสินทรัพย์ปลอดภัย เช่น พันธบัตรรัฐบาล มักให้ผลตอบแทนดี ● อย่างไรก็ดี ในช่วงที่เงินเฟ้อสูง อัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่ต่ำ อาจทำให้อัตราผลตอบแทนที่แท้จริง (real return) ติดลบ ● เราไม่ได้ใช้พันธบัตรในการเก็งกำไร เพื่อสร้างผลตอบแทน แต่เรามองว่าพันธบัตรสามารถป้องกันความเสี่ยงได้ดี มุมมอง: เราให้น้ำหนักสินค้าโภคภัณฑ์ที่ 25% ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนน้ำหนักในการลงทุน มุมมอง: แม้ว่าราคาก๊าซธรรมชาติจะกลับมาอยู่ในระดับเดียวกันเดือนมิถุนายน 2021 แต่ราคาน้ำมันยังคงสูง ● ราคาก๊าซธรรมชาติในยุโรปกลับเข้าสู่ระดับปกติ เนื่องจากมีสำรองเพียงพอ และสภาพภูมิอากาศไม่รุนแรงนัก มุมมอง: ตลาดเชื่อว่าราคาก๊าซธรรมชาติจะกลับมาแพงขึ้น ● การพึ่งพิงพลังงานจากรัสเซียจะส่งผลกระทบต่อตลาดพลังงานในยุโรป ● ถ้าอากาศหนาวเย็นลง ปริมาณก๊าซสำรองอาจลดลงอย่างรวดเร็ว ทำให้ราคาปรับตัวขึ้น มุมมอง: ปัจจัยพื้นฐานยังสนับสนุนราคาน้ำมัน ● กลุ่ม OPEC+ ผลิตได้ไม่เป็นไปตามเป้า และมีการลดกำลังการผลิต ทำให้ราคาน้ำมันน่าจะอยู่ในระดับสูงต่อไป ● สงครามในยูเครนน่าจะก่อให้เกิดปัญหาด้านอุปทานต่ออีกระยะหนึ่ง ● ราคาพลังงานน่าจะอยู่ในระดับสูงต่อไป จากการลงทุนที่ไม่เพียงพอในโครงการใหม่ ๆ มุมมอง: อุปทานสำหรับสินค้าทางการเกษตรอาจตึงตัวมากขึ้นอีก ● นอกจากพลังงานแล้ว รัสเซียยังเป็นผู้ส่งออกโลหะอุตสาหกรรมหลายชนิด รวมถึงรัสเซีย และยูเครนยังเป็นผู้ส่งออกสำคัญของสินค้าทางการเกษตร ● ลานีญ่า (La Nina) อาจทำให้อุปทานสินค้าเกษตร เช่น ข้าวโพด ถั่วเหลือง และแป้ง ลดลง ซึ่งลานีญ่านี้เองทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไป เกิดพายุรุนแรง และความแห้งแล้ง ซึ่งผลกระทบอาจแตกต่างกันตามภูมิภาค มุมมอง: ราคาพลังงานที่สูงขึ้น ส่งผลต่อราคาอาหาร แต่ราคาธัญพืชฟื้นตัวได้เล็กน้อยในเดือนกันยายน ● ก๊าซธรรมชาติใช้ในการทำปุ๋ย และราคาที่เพิ่มขึ้นของปุ๋ยทำให้เมล็ดพันธุ์ต้องปรับราคาขึ้นตามไปด้วย ● เมื่อราคาก๊าซธรรมชาติต่ำลง บริษัทผลิตปุ๋ยอาจกลับมาผลิตปุ๋ยอีกครั้ง ● ข้าวโพดถูกใช้เป็นอาหารของสัตว์ ซึ่งราคาข้าวโพดที่แพงขึ้นทำให้ราคาเนื้อสัตว์ปรับขึ้นตาม มุมมอง: ดัชนีราคาอาหารโลกปรับขึ้นสูงที่สุดในเดือนมีนาคม 2022 ที่ 160 และปัจจุบันอยู่ที่ 136 ในเดือนกันยายน 2022 ● การห้ามการส่งออกอาหารของบางประเทศทำให้เกิดการขาดแคลนอาหารและทำให้ราคาอาหารสูงขึ้น ● ราคาน้ำมันพืชและธัญพืชที่ปรับตัวลงทำให้ดัชนีราคาอาหารปรับตัวลง ● ราคาเนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์จากนมอยู่ในระดับเดียวกับเดือนมีนาคม 2022 มุมมอง: ราคาสินค้าโภคภัณฑ์น่าจะยังปรับขึ้นต่อได้ ● การฟื้นตัวของความต้องการ (อาหารและพลังงาน) ภาวะเงินเฟ้อ และปัญหาห่วงโซ่อุปทาน ทั้งที่เกี่ยวและไม่เกี่ยวกับสงครามจะผลักดันให้สินค้าโภคภัณฑ์ปรับตัวสูงขึ้น ● การเปิดเมืองอีกครั้งของจีนจะทำให้ความต้องการสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● ถ้าเกิดภาวะ stagflation คาดว่าสินค้าโภคภัณฑ์จะสร้างผลตอบแทนได้ดี มุมมอง: เราให้น้ำหนักทองคำที่ 25% ● เราไม่ได้เปลี่ยนแปลงน้ำหนักการลงทุน มุมมอง: ทองคำจะเป็นเหมือนหลักประกันป้องกันความเสี่ยง ● สงครามในยูเครนทำให้เกิดความไม่แน่นอน ผลักดันความคาดหวังอัตราเงินเฟ้อ ทำให้สินทรัพย์ปลอดภัย เช่น ทองคำ ได้รับความสนใจมากขึ้น ● อย่างไรก็ดี ความคาดหวังการขึ้นดอกเบี้ย อาจกดดันราคาทองคำ ● โดยทั่วไป ทองคำจะช่วยป้องกันความเสี่ยงในช่วงตลาดขาลงได้ ความเสี่ยง: เงินเฟ้อถูกควบคุมได้อย่างรวดเร็ว ● ถ้าธนาคารกลางสร้างความแปลกใจให้กับตลาดด้วยการขึ้นดอกเบี้ยเร็วและแรง พร้อมกับการดึงสภาพคล่องออกจากตลาด อาจจะทำให้ตลาดหุ้นปรับตัวลงอย่างรุนแรง ● เราไม่ได้ให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้นมาก หากธนาคารกลางปรับเปลี่ยนนโยบาย และหุ้นปรับตัวสูงขึ้น อาจทำให้เราเสียโอกาสบ้าง ● เศรษฐกิจจีนที่อ่อนแออาจลดความต้องการของสินค้าโภคภัณฑ์ กดดันทำให้ราคาต่ำลงได้ ● ราคาสินค้าโภคภัณฑ์อื่นอาจปรับตัวลงพร้อมกับราคาพลังงาน เนื่องจากพลังงานเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิต ข้อสรุปที่สำคัญ ● AWS สร้างผลตอบแทนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 2.7% ในเดือนตุลาคม 2022 ● ธนาคารกลางกำลังขึ้นดอกเบี้ยในช่วงที่เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอย เพื่อชะลออัตราเงินเฟ้อ โดย stagflation เป็นสิ่งที่เลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้นได้ ● ความต้องการสินค้าจำเป็น (อาหารและพลังงาน) ภาวะเงินเฟ้อ และปัญหาห่วงโซ่อุปทานจะทำใหราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● พันธบัตรและทองคำใช้ในการลดความเสี่ยง ● ความเสี่ยง: เงินเฟ้อควบคุมได้ นโยบายการเงินทำให้ตลาดหุ้นปรับลงอย่างรุนแรง และเศรษฐกิจจีนที่อ่อนแอ

อัปเดต: พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษให้ผลตอบแทนแย่อย่างมีนัยสำคัญในช่วงปีที่ผ่านมา

อัปเดต: หุ้นกู้เอกชนทำผลงานได้แย่ในปีนี้ อัปเดต: หุ้นกู้เอกชนทำผลงานได้แย่ในปีนี้ อัปเดต: พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษให้ผลตอบแทนแย่อย่างมีนัยสำคัญในช่วงปีที่ผ่านมา อัปเดต: พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษให้ผลตอบแทนแย่อย่างมีนัยสำคัญในช่วงปีที่ผ่านมา กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (REIT) ก็ไม่สามารถป้องกันความเสี่ยงจากอัตราเงินเฟ้อได้ อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยของสหรัฐฯ ทำให้ค่าผ่อนบ้านสูงขึ้นมาก อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยมักจะตามมาด้วยราคาบ้านที่ลดลง อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยมักจะตามมาด้วยราคาบ้านที่ลดลง อัปเดต: เงินเหรียญสหรัฐฯ มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น อัปเดต: เงินเหรียญสหรัฐฯ มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น ● เงินเหรียญสหรัฐฯ ถูกใช้ในธุรกรรมทางการเงินกว่า 40% ของธุรกรรมทั้งหมด อัปเดต: เงินยูโรอ่อนค่าลงมากเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐฯ อัปเดต: ค่าเงินยูโรที่อ่อนค่าทำให้ดุลการค้าของเยอรมนีลดลงอย่างมีนัยสำคัญ อัปเดต: เงินเยนอ่อนตัวเนื่องจากธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) เข้าแทรกแซง อัปเดต: สหรัฐฯ และจีนยังคงมีความขัดแย้งเรื่องเทคโนโลยีเซมิคอนดักเตอร์ อัปเดต: จีนขยายอิทธิพลในห่วงโซ่การค้าโลก อัปเดต: จีนขยายอิทธิพลในห่วงโซ่การค้าโลก อัปเดต: ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ครองอำนาจต่ออีกครั้ง ● อดีตประธานาธิบดี หู จิ่นเทา ถูกพาตัวออกจากการประชุมพรรคคอมมิวนิสต์จีน ในวันที่ 22 ตุลาคม 2022 อัปเดต: การขาดแคลนอุปทานในเชิงโครงสร้างเป็นผลดีต่อราคาสินค้าโภคภัณฑ์ อัปเดต: OPEC+ ลดโควตาการผลิตน้ำมัน ซึ่งน่าจะทำให้อุปทานน้ำมันโลกลดลง อัปเดต: ประธานาธิบดี โจ ไบเดน ต้องการที่จะเพิ่มภาษีให้กับบริษัทผู้ผลิตพลังงาน ซึ่งจะลดแรงจูงใจในการลงทุน อัปเดต: เราอาจเห็นการรวมกลุ่มกันของกลุ่มผู้ผลิตสินแร่ที่ต้องใช้ในแบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้า คล้ายกับการรวมกลุ่มกันของ OPEC อัปเดต: ธนาคารกลางเริ่มเก็บสะสมทองคำมากขึ้น ข้อสรุปที่สำคัญ ● พันธบัตรทำผลงานได้ไม่ดีในปีนี้ ● เงินดอลลาร์สหรัฐฯ แข็งค่าขึ้นมาก และยังคงเป็นสกุลเงินสำรองหลักของโลก การแข็งค่าของเงินดอลลาร์กดดันเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ● ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ครองอำนาจต่อ ● ปัญหาการขาดแคลนอุปทานจะช่วยให้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● ธนาคารกลางเริ่มเก็บสะสมทองคำ รีวิว: เราให้น้ำหนักการลงทุน 25% ในแต่ละสินทรัพย์ ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักในครั้งนี้ รีวิว: หุ้นโลกปรับตัวลงในปี 2022 แต่ปรับตัวขึ้น 5.9% ในเดือนตุลาคม ● หุ้นโลกปรับตัวขึ้น 19.0% ในปี 2021 แต่ตั้งแต่ต้นปี 2022 ปรับตัวลง 20.8% ● ตลาดปรับตัวขึ้น เพราะความหวังว่าธนาคารกลางจะกลับทิศนโยบาย รีวิว: หุ้นสหรัฐฯ ทำผลงานได้ดีที่สุดเป็นอันดับ 2 ในเดือนตุลาคม โดยปรับขึ้น 8.3% ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นสหรัฐฯ ● การคาดการณ์ว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) จะผ่อนคลายท่าทีลง และ GDP ที่ขยายตัวมากกว่าที่ประมาณการไว้ทำให้หุ้นฟื้นตัวขึ้น รีวิว: หุ้นยุโรปทำผลงานได้ดีที่สุด โดยปรับตัวขึ้น 8.9% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นยุโรปกลุ่มพัฒนาแล้ว ● การฟื้นตัวของหุ้นยุโรปก็มาจากความคาดหวังว่าธนาคารกลางจะชะลอความเร็วในการขึ้นดอกเบี้ยลง รีวิว: ตลาดเกิดใหม่ปรับตัวลง 3.3% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นตลาดเกิดใหม่ โดยทำผลงานได้แย่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ● การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ กดดันผลตอบแทนของตลาดเกิดใหม่ รีวิว: หุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น ปรับตัวลงมากที่สุดเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน โดยปรับตัวลง 4.8% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น ● การปรับตัวลงของหุ้นจีน และไต้หวัน รวมถึงการแข็งค่าของดอลลาร์สหรัฐฯ กดดันผลตอบแทนของตลาดหุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น รีวิว: ตลาดญี่ปุ่นสร้างผลตอบแทนได้ดีเป็นอันดับ 3 ในเดือนตุลาคม โดยปรับตัวขึ้น 4.4% ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นญี่ปุ่น ● หุ้นญี่ปุ่นฟื้นตัวจากความคาดหวังของการผ่อนคลายท่าทีของ FED รีวิว: ตลาดตราสารหนี้ไทยทรงตัว ● เราให้น้ำหนัก 5% กับตราสารหนี้ไทย (แทนที่จะเป็นตราสารหนี้ต่างประเทศ) ซึ่งทรงตัวในช่วงที่ผ่านมา ● วัตถุประสงค์หลักของการลงทุนในตราสารหนี้ เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากตลาดขาลง รีวิว: ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ให้ผลตอบแทน 3.1% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 25% กับสินค้าโภคภัณฑ์ ● ราคาสินค้าโภคภัณฑ์เป็นขาขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่เดือนเมษายน 2020 รีวิว: น้ำมันดิบ WTI ฟื้นตัวเล็กน้อย โดยราคาปิด ณ สิ้นเดือนตุลาคม อยู่ที่ 87 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล รีวิว: พลังงานสร้างผลตอบแทนดีที่สุด รองลงมาคือปศุสัตว์ ● การลดจำนวนโควต้าการผลิตของ OPEC+ ทำให้ราคาน้ำมันสูงขึ้น ● เราเห็นการฟื้นตัวของราคาปศุสัตว์ เช่นกัน รีวิว: ทองคำปรับตัวลงในปี 2022 โดยปรับตัวลง 2.3% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 25% ในทองคำ ● ราคาทองคำอยู่ที่ 1,633 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อออนซ์ ● การฟื้นตัวของหุ้น ทำให้ราคาสินทรัพย์ปลอดภัย เช่น ทองคำ ถูกกดดัน รีวิว: ความอ่อนแอของผลตอบแทนจากการลงทุนในทองคำมีส่วนสำคัญจากการแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ● เสมือนว่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นคู่แลกเปลี่ยน โดยการแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำให้ราคาทองคำต่ำลงในรูปเหรียญสหรัฐฯ ● และหมายความว่า ผลตอบแทนของทองคำ ขึ้นอยู่กับเงินสกุลท้องถิ่นต่าง ๆ ด้วย รีวิว: มีเพียงเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และสวิสฟรังก์เท่านั้น ที่แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับราคาทองคำในปี 2022 ● ในเดือนตุลาคม เงินเยน และเงินหยวนสามารถซื้อทองคำได้น้อยลง (ค่าเงินอ่อนเมื่อเทียบกับทองคำ) ● ขณะที่เงินสกุลอื่น ๆ แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับทองคำ ● เงินเหรียญสหรัฐฯ 3 เดือนที่ผ่านมา แข็งค่าขึ้นกว่าเดิม 4.1% เมื่อเทียบกับทองคำ โดยแข็งกว่าปีก่อนหน้า 4.0% ● เงินปอนด์อังกฤษ 3 เดือนที่ผ่านมา แข็งค่าขึ้น 2.7% เมื่อเทียบกับทองคำ โดยแข็งกว่าปีก่อน 2.6% รีวิว: AWS ปรับตัวขึ้น 0.8% ในเดือนตุลาคม และทำผลงานเหนือกว่าพอร์ต 60/40 เมื่อนับตั้งแต่ก่อตั้ง ● ตั้งแต่ตั้งพอร์ต AWS ให้ผลตอบแทนสูงกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 4.8% ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2022 เดือนตุลาคม 2022: AWS สร้างผลตอบแทนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 2.7% ● รีวิวผลตอบแทนของสินทรัพย์ต่าง ๆ ที่เราให้น้ำหนัก 25% ● สินค้าโภคภัณฑ์: ทำผลงานได้ดี แต่ต่ำกว่าหุ้น ● พันธบัตร: ผลงานทรงตัว ● ทองคำ: สร้างผลตอบแทนเป็นลบ เพราะนักลงทุนชอบความเสี่ยงมากขึ้น รีวิว: AWS สร้างผลตอบแทนได้ดี ● AWS ให้ผลตอบแทนสูงกว่าพอร์ต 60/40 ในช่วงเวลาส่วนใหญ่ ● ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมาถือเป็นช่วงเวลาที่ท้าทาย รีวิว: AWS มีความผันผวนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 ● สัดส่วนการลงทุนในหุ้น 25-65% ช่วยลดความผันผวน ● ทองคำช่วยลดความผันผวนโดยรวมของพอร์ต เนื่องจากเป็นสินทรัพย์ที่ไม่มีความสัมพันธ์กับหุ้น รีวิว: AWS ขาดทุนน้อยกว่าพอร์ตการลงทุนดั้งเดิมแบบ 60/40 9 ครั้งจาก 10 ครั้งในช่วงที่ตลาดหุ้นปรับตัวลงมากที่สุด ● จุดเด่นสำคัญของ AWS คือ การจำกัดการขาดทุนเมื่อตลาดหุ้นโลกปรับตัวลง ● นับตั้งแต่จัดตั้ง AWS ขาดทุนน้อยกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 9 วันถ้านับจากใน 10 วันที่หุ้นโลกทำผลงานได้ย่ำแย่ที่สุด รีวิว: AWS ทำผลงานแย่กว่าพอร์ตการลงทุนดั้งเดิมแบบ 60/40 ในเดือนตุลาคม แต่ยังทำผลงานเหนือกว่าพอร์ต 60/40 ใน 59% ของเดือนทั้งหมด ● AWS สามารถสร้างผลตอบแทนเหนือกว่าพอร์ต 60/40 ใน 26 เดือนจาก 44 เดือน สรุป FVMR แต่ละภูมิภาค ● พื้นฐาน (Fundamentals): หุ้นสหรัฐฯ มีผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ROE (Return on Equity) สูงที่สุด ● มูลค่า (Valuation): หุ้นตลาดเกิดใหม่ และหุ้นยุโรปพัฒนาแล้วมี PE (Price-to-Earnings) ต่ำที่สุด และหุ้นญี่ปุ่นมี PB (Price-to-Book) ต่ำที่สุด ● แนวโน้ม (Momentum): หุ้นญี่ปุ่นสร้างผลตอบแทนได้ดีที่สุดในปีที่ผ่านมา ● ความเสี่ยง (Risk): หุ้นเอเชียแปซิฟิก และหุ้นญี่ปุ่น มีอัตราหนี้สินต่อทุน (Gearing) ต่ำที่สุด น้ำหนัก: เราให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้น 25% โดยแบ่งเป็น 5% ในแต่ละภูมิภาค ● เราไม่ได้เปลี่ยนน้ำหนักการลงทุน มุมมอง: ราคาน้ำมันเริ่มปรับตัวลงมา แต่เงินเฟ้อยังคงสูง ● น้ำมันเป็นแหล่งพลังงานหลักสำหรับการเกษตร การผลิต และการคมนาคม ● ราคาน้ำมันที่ปรับตัวลงมาอาจช่วยชะลออัตราเงินเฟ้อ หรือทำให้อัตราเงินเฟ้อลดลงได้ ● อย่างไรก็ดี เรากลับพบว่า อัตราเงินเฟ้อยังคงสูงขึ้น มุมมอง: อัตราเงินเฟ้อปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่อง ● ราคาสินค้าและบริการที่แพงขึ้น เมื่อถึงจุดหนึ่งจะทำให้ความต้องการลดลง ● ฐานเงินเฟ้อที่สูงขึ้น จะแสดงระดับอัตราเงินเฟ้อที่ลดลง ● ดังนั้น เงินเฟ้ออาจเข้าใกล้จุดสูงสุดแล้ว แม้ว่าธนาคารกลางยังไม่ได้เข้าแทรกแซง ผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล 3 เดือนปรับตัวสูงขึ้นเป็น 3.8% จาก 1.4% ในปีที่ผ่านมา ● อย่างไรก็ดี อัตราเงินเฟ้อปรับตัวสูงขึ้นเร็วกว่าผลตอบแทนพันธบัตร ● เราคาดหวังว่าธนาคารกลางจะยังคงขึ้นดอกเบี้ยต่อ เพราะดูเหมือนว่ายังชะลอเงินเฟ้อไม่ได้ มุมมอง: ประธาน FED ตั้งมั่นที่จะหยุดยั้งเงินเฟ้อ ● ประธาน FED ยืนยันว่าความเดือดร้อนเป็นสิ่งที่จะเกิดขึ้น เพื่อให้เงินเฟ้อชะลอตัวลง ● “ข้อมูลจากการประชุมครั้งที่ผ่านมาแสดงให้เห็นว่าเป้าหมายดอกเบี้ยนโยบายอาจจะสูงกว่าที่คาดการณ์ไว้แต่แรก” ● FED จะพิจารณาผลลัพธ์จากการขึ้นดอกเบี้ยติดต่อกันหลายครั้ง ● หลายคนคาดว่าคำพูดของประธาน FED ส่งสัญญาณว่า FED กำลังจะลดขนาดการขึ้นดอกเบี้ย มุมมอง: ตลาดมองว่าเงินเฟ้อจะเข้าสู่ภาวะปกติ ● อัตราเงินเฟ้อคาดการณ์สหรัฐฯ 10 ปี อยู่ที่ 2.5% ส่งสัญญาณว่าตลาดคาดว่า FED จะควบคุมเงินเฟ้อได้ ● ถ้าการคาดการณ์เงินเฟ้อต่ำกว่าความจริง จะทำให้ราคาหุ้น สินค้าโภคภัณฑ์ และทองคำปรับตัวขึ้น มุมมอง: ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) ดูเหมือนว่าจะสูงที่สุดแล้ว ● ถ้าราคาน้ำมันไม่ปรับตัวขึ้นอย่างมีนัยสำคัญแล้ว เราคาดว่า CPI น่าจะผ่านจุดที่สูงที่สุดแล้ว ● แต่ว่าราคาน้ำมันที่อยู่ในระดับสูง น่าจะทำให้ราคาอาหารและสินค้าอื่น ๆ ทรงตัวในระดับสูง ทำให้ไม่น่าจะเห็นการปรับตัวลงของ CPI อย่างรวดเร็วภายใน 2-3 เดือนหน้า มุมมอง: การขึ้นดอกเบี้ยในเดือนธันวาคมได้ถูกตลาดคาดการณ์ไว้แล้ว (priced in) ● ตลาดมั่นใจ 100% ว่า FED จะขึ้นดอกเบี้ยในการประชุมครั้งถัดไป ● โดยเชื่อมั่น 61.5% ว่าจะมีการขึ้นดอกเบี้ย 0.5% เข้าสู่ระดับ 4.25-4.50% มุมมอง: การขึ้นดอกเบี้ยครั้งนี้เป็นการปรับขึ้นที่เร็วที่สุดตั้งแต่ช่วง 1980 ● ในการขึ้นดอกเบี้ยปี 2004 ดอกเบี้ยนโยบายปรับขึ้นรวม 4.25% ● ในการขึ้นดอกเบี้ยครั้งนี้ ดอกเบี้ยปรับขึ้นแล้ว 3.75% ● ตลาดคาดว่าดอกเบี้ยจะเข้าสู่ระดับ 4.25% ในเดือนธันวาคม 2022 และปรับเพิ่มขึ้นอีกในเดือนกุมภาพันธ์ 2023 มุมมอง: ดอกเบี้ยไม่เคยขึ้นสู่ระดับ 3% ด้วยความเร็วขนาดนี้ ตั้งแต่ช่วง 1950 มุมมอง: ตั้งแต่เดือนมีนาคม ตลาดคาดว่า FED จะดำเนินนโยบายเข้มงวดมากขึ้น ● ตลาดเชื่อว่าดอกเบี้ยนโยบายจะสูงสุดในเดือนมิถุนายน 2023 ● FED กำลังสู้กับเงินเฟ้ออย่างเข้มข้น แม้ว่าจะต้องเสี่ยงกับเภาวะศรษฐกิจถดถอย มุมมอง: ตลาดมองว่า FED เข้มงวดด้านนโยบายการเงินมากที่สุด ● ดอกเบี้ยนโยบายที่ต่ำกว่าของธนาคารกลางยุโรป (ECB) และธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) ทำให้เชื่อว่าเงินยูโร และเงินเยนจะอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐฯ มุมมอง: การกลับทิศของกราฟอัตราส่วนผลตอบแทนพันธบัตร (inverted yield-curve) รุนแรงขึ้น ● ตั้งแต่ปี 1970 inverted yield-curve จะเกิดขึ้นก่อนภาวะเศรษฐกิจถดถอย ● หลังจากเกิด inverted yield curve จะเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยโดยเฉลี่ยภายใน 1 ปี (ประมาณกลางปี 2023) มุมมอง: จับตาดูความแตกต่างระหว่างผลตอบแทนพันธบัตร (yield spread) ● อัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่แตกต่างกันมากขึ้น แสดงให้เห็นว่านักลงทุนต้องการผลตอบแทนที่มากขึ้น ให้คุ้มค่ากับความเสี่ยง ● สหภาพยุโรปมี yield spread ใกล้เคียงกับในช่วง COVID แล้ว แต่ yield spread ในสหรัฐฯ ยังต่ำกว่า และปรับตัวต่ำลงเรื่อย ๆ มุมมอง: หุ้นถูกประเมินมูลค่าต่ำลงมา โดยมาจากราคาที่ต่ำลงเป็นสำคัญ ● มูลค่าหุ้นโลกที่ถูกประเมินไว้ปรับตัวต่ำลงมากว่าค่าเฉลี่ยในอดีตเล็กน้อย ● แม้ว่าอัตราการทำกำไรจะต่ำกว่าเดิม แต่ว่ายังไม่มีการปรับประมาณการลงอย่างมีนัยสำคัญ มุมมอง: ความเห็นตลาดยังมองว่ากำไรของบริษัทจะเพิ่มขึ้น ● เป็นสิ่งที่ดี ● นักวิเคราะห์เชื่อว่ากำไรของบริษัทจะเติบโต 7% ในปีหน้า และจะเติบโตมากขึ้นเป็นลำดับ มุมมอง: ความเห็นตลาดยังมองว่ากำไรของบริษัทจะเพิ่มขึ้น ● เป็นสิ่งที่ดี ● นักวิเคราะห์เชื่อว่ากำไรของบริษัทจะเติบโต 7% ในปีหน้า และจะเติบโตมากขึ้นเป็นลำดับ มุมมอง: สำหรับภูมิภาคอื่น ๆ คาดว่าอัตราการทำกำไรจะลดลงต่อเนื่อง 2 ปี ● แม้ว่าจะมีความเสี่ยงเศรษฐกิจถดถอย แต่ว่ายังมีการเติบโตของกำไร (การเติบโตไม่ติดลบ) ● นักวิเคราะห์ค่อนข้างกังวลกับบริษัทในสหรัฐฯ ทั้งนี้ นักลงทุนมักจะมองโลกในแง่ดีกว่าความเป็นจริง และไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงของตลาดทันท่วงที รีวิว: ECB อาจจะชะลอการขึ้นดอกเบี้ย ● เงินเฟ้อปรับตัวสูงที่สุดอีกครั้งในเดือนตุลาคม ที่ระดับ 10.7% ● หลังจากการขึ้นดอกเบี้ย 0.75% ในเดือนตุลาคม ECB ส่งสัญญาณว่าจะลดอัตราการขึ้นดอกเบี้ยลงในเดือนธันวาคม ● อย่างไรก็ดี ถ้า FED ยังขึ้นดอกเบี้ยต่อเนื่อง แต่ ECB ลดอัตราการขึ้นดอกเบี้ยลง ค่าเงินยูโรอาจอ่อนตัวลงอีก ทำให้เกิดภาวะขาดดุลทางการค้า มุมมอง: ยังไม่มีการดำเนินนโยบายการเงินแบบตึงตัว (QT) เท่าไรนัก ● ธนาคารกลางเริ่มให้พันธบัตรหมดอายุ ทำให้งบดุลไม่โตขึ้นแล้ว ● งบดุลของ BOJ โตขึ้นเล็กน้อยในเดือนตุลาคม มุมมอง: เราเชื่อว่าธนาคารกลางจะกลับทิศนโยบายในอนาคต ● ธนาคารกลางสื่อสารว่าจะควบคุมให้เงินเฟ้อลดลง และนักลงทุนดูเหมือนว่าจะเชื่อเช่นนั้น ● เราเชื่อว่าธนาคารกลาง และนักการเมืองพร้อมที่จะเปลี่ยนนโยบาย หากมีความเสียหายเกิดขึ้นกับเศรษฐกิจ ● และเราเชื่อว่าธนาคารกลางกำลังจะทำให้เกิดความเสียหายกับเศรษฐกิจ มุมมอง: stagflation จะเป็นสิ่งเลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้น ● ถ้าธนาคารกลางชะลอการเติบโตของเศรษฐกิจ แต่ไม่สามารถหยุดเงินเฟ้อได้ จะเกิดภาวะ stagflation ● ภาวะ stagflation ส่งผลเสียต่อหุ้นและพันธบัตร ● สินค้าโภคภัณฑ์มักสร้างผลตอบแทนได้ดีในช่วงเงินเฟ้อ และทองคำมักสร้างผลตอบแทนได้ดีในช่วง stagflation ● เนื่องจากยังมีความไม่แน่นอนสูง เราจำกัดการลงทุนในหุ้น มุมมอง: ตลาดหุ้นสหรัฐฯ มีบทบาทมากต่อตลาดการเงินโลก ● เงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นเหมือนสินทรัพย์ปลอดภัย ซึ่งการขึ้นดอกเบี้ยและการทำ QT จะทำให้ค่าเงินดอลลาร์แข็งขึ้นอีก ● เราเชื่อว่าตลาดหุ้นสหรัฐฯ มีความยืดหยุ่นต่อความเสี่ยงได้ดีกว่าตลาดหุ้นอื่น ● เรายังให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้นในแต่ละภูมิภาคอย่างน้อย 5% เนื่องจากเราเชื่อว่าตลาดหุ้นยังอ่อนแอ มุมมอง: ECB ก็ต้องสู้กับเงินเฟ้อเช่นกัน ● ราคาพลังงานที่สูงขึ้นจะกดดันการบริโภค และการผลิต ● เราคงน้ำหนัก 5% ในการลงทุนในตลาดหุ้นยุโรปกลุ่มพัฒนาแล้ว มุมมอง: การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ส่งผลลบต่อตลาดเกิดใหม่ ● การขึ้นดอกเบี้ยของ FED น่าจะทำให้เงินเหรียญสหรัฐฯ แข็งค่า สภาพคล่องในระบบลดลง และทำให้ตลาดเกิดใหม่ได้รับผลกระทบเชิงลบได้ ● เงินเหรียญสหรัฐฯ ถือเป็นสินทรัพย์ปลอดภัย (safe haven) ซึ่งนักลงทุนอาจใช้พักเงินในช่วงที่สถานการณ์โลกมีความไม่แน่นอนสูง มุมมอง: การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และเศรษฐกิจจีนยังเป็นข้อกังวล ● การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำให้การชำระหนี้ที่เป็นเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำได้ยากขึ้น เนื่องจากจะต้องใช้เงินสกุลท้องถิ่นมาแลกมากขึ้น ● เรายังไม่เชื่อมั่นว่าเศรษฐกิจจีนจะฟื้นตัว ● ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ได้ครองอำนาจอีกครั้ง และการควบคุมเงินเฟ้อของรัฐบาลอาจกดดันภาคเศรษฐกิจและรายได้ของบริษัท ตลอดจนนโยบายโควิดเป็นศูนย์ (zero-covid policy) ยังไม่ได้ถูกยกเลิก มุมมอง: หุ้นจีนยังคงกดดันผลตอบแทนหุ้นตลาดเกิดใหม่ และตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่น ● หุ้นจีนน่าจะยังคงกดดันผลตอบแทนหุ้นตลาดเกิดใหม่ และตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่นต่อไป ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นตลาดเกิดใหม่ และ 5% ในหุ้นตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่น มุมมอง: เงินเยนน่าจะอ่อนค่าต่อไป ● BOJ ยังคงดอกเบี้ยนโยบายที่ระดับต่ำ และคาดหวังว่าอัตราเงินเฟ้อจะเพิ่มสูงขึ้น ● เราให้น้ำหนัก 5% ในตลาดหุ้นญี่ปุ่น มุมมอง: เราให้น้ำหนัก 25% ในพันธบัตร ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนน้ำหนักในการลงทุน มุมมอง: พันธบัตรยังเป็นการลงทุนที่ปลอดภัย แม้ว่าในปี 2022 จะให้ผลตอบแทนที่ค่อนข้างแย่ ● ในช่วงเศรษฐกิจถดถอย การลงทุนในสินทรัพย์ปลอดภัย เช่น พันธบัตรรัฐบาล มักให้ผลตอบแทนดี ● อย่างไรก็ดี ในช่วงที่เงินเฟ้อสูง อัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่ต่ำ อาจทำให้อัตราผลตอบแทนที่แท้จริง (real return) ติดลบ ● เราไม่ได้ใช้พันธบัตรในการเก็งกำไร เพื่อสร้างผลตอบแทน แต่เรามองว่าพันธบัตรสามารถป้องกันความเสี่ยงได้ดี มุมมอง: เราให้น้ำหนักสินค้าโภคภัณฑ์ที่ 25% ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนน้ำหนักในการลงทุน มุมมอง: แม้ว่าราคาก๊าซธรรมชาติจะกลับมาอยู่ในระดับเดียวกันเดือนมิถุนายน 2021 แต่ราคาน้ำมันยังคงสูง ● ราคาก๊าซธรรมชาติในยุโรปกลับเข้าสู่ระดับปกติ เนื่องจากมีสำรองเพียงพอ และสภาพภูมิอากาศไม่รุนแรงนัก มุมมอง: ตลาดเชื่อว่าราคาก๊าซธรรมชาติจะกลับมาแพงขึ้น ● การพึ่งพิงพลังงานจากรัสเซียจะส่งผลกระทบต่อตลาดพลังงานในยุโรป ● ถ้าอากาศหนาวเย็นลง ปริมาณก๊าซสำรองอาจลดลงอย่างรวดเร็ว ทำให้ราคาปรับตัวขึ้น มุมมอง: ปัจจัยพื้นฐานยังสนับสนุนราคาน้ำมัน ● กลุ่ม OPEC+ ผลิตได้ไม่เป็นไปตามเป้า และมีการลดกำลังการผลิต ทำให้ราคาน้ำมันน่าจะอยู่ในระดับสูงต่อไป ● สงครามในยูเครนน่าจะก่อให้เกิดปัญหาด้านอุปทานต่ออีกระยะหนึ่ง ● ราคาพลังงานน่าจะอยู่ในระดับสูงต่อไป จากการลงทุนที่ไม่เพียงพอในโครงการใหม่ ๆ มุมมอง: อุปทานสำหรับสินค้าทางการเกษตรอาจตึงตัวมากขึ้นอีก ● นอกจากพลังงานแล้ว รัสเซียยังเป็นผู้ส่งออกโลหะอุตสาหกรรมหลายชนิด รวมถึงรัสเซีย และยูเครนยังเป็นผู้ส่งออกสำคัญของสินค้าทางการเกษตร ● ลานีญ่า (La Nina) อาจทำให้อุปทานสินค้าเกษตร เช่น ข้าวโพด ถั่วเหลือง และแป้ง ลดลง ซึ่งลานีญ่านี้เองทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไป เกิดพายุรุนแรง และความแห้งแล้ง ซึ่งผลกระทบอาจแตกต่างกันตามภูมิภาค มุมมอง: ราคาพลังงานที่สูงขึ้น ส่งผลต่อราคาอาหาร แต่ราคาธัญพืชฟื้นตัวได้เล็กน้อยในเดือนกันยายน ● ก๊าซธรรมชาติใช้ในการทำปุ๋ย และราคาที่เพิ่มขึ้นของปุ๋ยทำให้เมล็ดพันธุ์ต้องปรับราคาขึ้นตามไปด้วย ● เมื่อราคาก๊าซธรรมชาติต่ำลง บริษัทผลิตปุ๋ยอาจกลับมาผลิตปุ๋ยอีกครั้ง ● ข้าวโพดถูกใช้เป็นอาหารของสัตว์ ซึ่งราคาข้าวโพดที่แพงขึ้นทำให้ราคาเนื้อสัตว์ปรับขึ้นตาม มุมมอง: ดัชนีราคาอาหารโลกปรับขึ้นสูงที่สุดในเดือนมีนาคม 2022 ที่ 160 และปัจจุบันอยู่ที่ 136 ในเดือนกันยายน 2022 ● การห้ามการส่งออกอาหารของบางประเทศทำให้เกิดการขาดแคลนอาหารและทำให้ราคาอาหารสูงขึ้น ● ราคาน้ำมันพืชและธัญพืชที่ปรับตัวลงทำให้ดัชนีราคาอาหารปรับตัวลง ● ราคาเนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์จากนมอยู่ในระดับเดียวกับเดือนมีนาคม 2022 มุมมอง: ราคาสินค้าโภคภัณฑ์น่าจะยังปรับขึ้นต่อได้ ● การฟื้นตัวของความต้องการ (อาหารและพลังงาน) ภาวะเงินเฟ้อ และปัญหาห่วงโซ่อุปทาน ทั้งที่เกี่ยวและไม่เกี่ยวกับสงครามจะผลักดันให้สินค้าโภคภัณฑ์ปรับตัวสูงขึ้น ● การเปิดเมืองอีกครั้งของจีนจะทำให้ความต้องการสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● ถ้าเกิดภาวะ stagflation คาดว่าสินค้าโภคภัณฑ์จะสร้างผลตอบแทนได้ดี มุมมอง: เราให้น้ำหนักทองคำที่ 25% ● เราไม่ได้เปลี่ยนแปลงน้ำหนักการลงทุน มุมมอง: ทองคำจะเป็นเหมือนหลักประกันป้องกันความเสี่ยง ● สงครามในยูเครนทำให้เกิดความไม่แน่นอน ผลักดันความคาดหวังอัตราเงินเฟ้อ ทำให้สินทรัพย์ปลอดภัย เช่น ทองคำ ได้รับความสนใจมากขึ้น ● อย่างไรก็ดี ความคาดหวังการขึ้นดอกเบี้ย อาจกดดันราคาทองคำ ● โดยทั่วไป ทองคำจะช่วยป้องกันความเสี่ยงในช่วงตลาดขาลงได้ ความเสี่ยง: เงินเฟ้อถูกควบคุมได้อย่างรวดเร็ว ● ถ้าธนาคารกลางสร้างความแปลกใจให้กับตลาดด้วยการขึ้นดอกเบี้ยเร็วและแรง พร้อมกับการดึงสภาพคล่องออกจากตลาด อาจจะทำให้ตลาดหุ้นปรับตัวลงอย่างรุนแรง ● เราไม่ได้ให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้นมาก หากธนาคารกลางปรับเปลี่ยนนโยบาย และหุ้นปรับตัวสูงขึ้น อาจทำให้เราเสียโอกาสบ้าง ● เศรษฐกิจจีนที่อ่อนแออาจลดความต้องการของสินค้าโภคภัณฑ์ กดดันทำให้ราคาต่ำลงได้ ● ราคาสินค้าโภคภัณฑ์อื่นอาจปรับตัวลงพร้อมกับราคาพลังงาน เนื่องจากพลังงานเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิต ข้อสรุปที่สำคัญ ● AWS สร้างผลตอบแทนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 2.7% ในเดือนตุลาคม 2022 ● ธนาคารกลางกำลังขึ้นดอกเบี้ยในช่วงที่เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอย เพื่อชะลออัตราเงินเฟ้อ โดย stagflation เป็นสิ่งที่เลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้นได้ ● ความต้องการสินค้าจำเป็น (อาหารและพลังงาน) ภาวะเงินเฟ้อ และปัญหาห่วงโซ่อุปทานจะทำใหราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● พันธบัตรและทองคำใช้ในการลดความเสี่ยง ● ความเสี่ยง: เงินเฟ้อควบคุมได้ นโยบายการเงินทำให้ตลาดหุ้นปรับลงอย่างรุนแรง และเศรษฐกิจจีนที่อ่อนแอ

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (REIT) ก็ไม่สามารถป้องกันความเสี่ยงจากอัตราเงินเฟ้อได้

อัปเดต: หุ้นกู้เอกชนทำผลงานได้แย่ในปีนี้ อัปเดต: หุ้นกู้เอกชนทำผลงานได้แย่ในปีนี้ อัปเดต: พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษให้ผลตอบแทนแย่อย่างมีนัยสำคัญในช่วงปีที่ผ่านมา อัปเดต: พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษให้ผลตอบแทนแย่อย่างมีนัยสำคัญในช่วงปีที่ผ่านมา กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (REIT) ก็ไม่สามารถป้องกันความเสี่ยงจากอัตราเงินเฟ้อได้ อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยของสหรัฐฯ ทำให้ค่าผ่อนบ้านสูงขึ้นมาก อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยมักจะตามมาด้วยราคาบ้านที่ลดลง อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยมักจะตามมาด้วยราคาบ้านที่ลดลง อัปเดต: เงินเหรียญสหรัฐฯ มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น อัปเดต: เงินเหรียญสหรัฐฯ มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น ● เงินเหรียญสหรัฐฯ ถูกใช้ในธุรกรรมทางการเงินกว่า 40% ของธุรกรรมทั้งหมด อัปเดต: เงินยูโรอ่อนค่าลงมากเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐฯ อัปเดต: ค่าเงินยูโรที่อ่อนค่าทำให้ดุลการค้าของเยอรมนีลดลงอย่างมีนัยสำคัญ อัปเดต: เงินเยนอ่อนตัวเนื่องจากธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) เข้าแทรกแซง อัปเดต: สหรัฐฯ และจีนยังคงมีความขัดแย้งเรื่องเทคโนโลยีเซมิคอนดักเตอร์ อัปเดต: จีนขยายอิทธิพลในห่วงโซ่การค้าโลก อัปเดต: จีนขยายอิทธิพลในห่วงโซ่การค้าโลก อัปเดต: ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ครองอำนาจต่ออีกครั้ง ● อดีตประธานาธิบดี หู จิ่นเทา ถูกพาตัวออกจากการประชุมพรรคคอมมิวนิสต์จีน ในวันที่ 22 ตุลาคม 2022 อัปเดต: การขาดแคลนอุปทานในเชิงโครงสร้างเป็นผลดีต่อราคาสินค้าโภคภัณฑ์ อัปเดต: OPEC+ ลดโควตาการผลิตน้ำมัน ซึ่งน่าจะทำให้อุปทานน้ำมันโลกลดลง อัปเดต: ประธานาธิบดี โจ ไบเดน ต้องการที่จะเพิ่มภาษีให้กับบริษัทผู้ผลิตพลังงาน ซึ่งจะลดแรงจูงใจในการลงทุน อัปเดต: เราอาจเห็นการรวมกลุ่มกันของกลุ่มผู้ผลิตสินแร่ที่ต้องใช้ในแบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้า คล้ายกับการรวมกลุ่มกันของ OPEC อัปเดต: ธนาคารกลางเริ่มเก็บสะสมทองคำมากขึ้น ข้อสรุปที่สำคัญ ● พันธบัตรทำผลงานได้ไม่ดีในปีนี้ ● เงินดอลลาร์สหรัฐฯ แข็งค่าขึ้นมาก และยังคงเป็นสกุลเงินสำรองหลักของโลก การแข็งค่าของเงินดอลลาร์กดดันเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ● ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ครองอำนาจต่อ ● ปัญหาการขาดแคลนอุปทานจะช่วยให้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● ธนาคารกลางเริ่มเก็บสะสมทองคำ รีวิว: เราให้น้ำหนักการลงทุน 25% ในแต่ละสินทรัพย์ ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักในครั้งนี้ รีวิว: หุ้นโลกปรับตัวลงในปี 2022 แต่ปรับตัวขึ้น 5.9% ในเดือนตุลาคม ● หุ้นโลกปรับตัวขึ้น 19.0% ในปี 2021 แต่ตั้งแต่ต้นปี 2022 ปรับตัวลง 20.8% ● ตลาดปรับตัวขึ้น เพราะความหวังว่าธนาคารกลางจะกลับทิศนโยบาย รีวิว: หุ้นสหรัฐฯ ทำผลงานได้ดีที่สุดเป็นอันดับ 2 ในเดือนตุลาคม โดยปรับขึ้น 8.3% ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นสหรัฐฯ ● การคาดการณ์ว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) จะผ่อนคลายท่าทีลง และ GDP ที่ขยายตัวมากกว่าที่ประมาณการไว้ทำให้หุ้นฟื้นตัวขึ้น รีวิว: หุ้นยุโรปทำผลงานได้ดีที่สุด โดยปรับตัวขึ้น 8.9% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นยุโรปกลุ่มพัฒนาแล้ว ● การฟื้นตัวของหุ้นยุโรปก็มาจากความคาดหวังว่าธนาคารกลางจะชะลอความเร็วในการขึ้นดอกเบี้ยลง รีวิว: ตลาดเกิดใหม่ปรับตัวลง 3.3% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นตลาดเกิดใหม่ โดยทำผลงานได้แย่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ● การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ กดดันผลตอบแทนของตลาดเกิดใหม่ รีวิว: หุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น ปรับตัวลงมากที่สุดเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน โดยปรับตัวลง 4.8% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น ● การปรับตัวลงของหุ้นจีน และไต้หวัน รวมถึงการแข็งค่าของดอลลาร์สหรัฐฯ กดดันผลตอบแทนของตลาดหุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น รีวิว: ตลาดญี่ปุ่นสร้างผลตอบแทนได้ดีเป็นอันดับ 3 ในเดือนตุลาคม โดยปรับตัวขึ้น 4.4% ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นญี่ปุ่น ● หุ้นญี่ปุ่นฟื้นตัวจากความคาดหวังของการผ่อนคลายท่าทีของ FED รีวิว: ตลาดตราสารหนี้ไทยทรงตัว ● เราให้น้ำหนัก 5% กับตราสารหนี้ไทย (แทนที่จะเป็นตราสารหนี้ต่างประเทศ) ซึ่งทรงตัวในช่วงที่ผ่านมา ● วัตถุประสงค์หลักของการลงทุนในตราสารหนี้ เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากตลาดขาลง รีวิว: ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ให้ผลตอบแทน 3.1% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 25% กับสินค้าโภคภัณฑ์ ● ราคาสินค้าโภคภัณฑ์เป็นขาขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่เดือนเมษายน 2020 รีวิว: น้ำมันดิบ WTI ฟื้นตัวเล็กน้อย โดยราคาปิด ณ สิ้นเดือนตุลาคม อยู่ที่ 87 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล รีวิว: พลังงานสร้างผลตอบแทนดีที่สุด รองลงมาคือปศุสัตว์ ● การลดจำนวนโควต้าการผลิตของ OPEC+ ทำให้ราคาน้ำมันสูงขึ้น ● เราเห็นการฟื้นตัวของราคาปศุสัตว์ เช่นกัน รีวิว: ทองคำปรับตัวลงในปี 2022 โดยปรับตัวลง 2.3% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 25% ในทองคำ ● ราคาทองคำอยู่ที่ 1,633 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อออนซ์ ● การฟื้นตัวของหุ้น ทำให้ราคาสินทรัพย์ปลอดภัย เช่น ทองคำ ถูกกดดัน รีวิว: ความอ่อนแอของผลตอบแทนจากการลงทุนในทองคำมีส่วนสำคัญจากการแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ● เสมือนว่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นคู่แลกเปลี่ยน โดยการแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำให้ราคาทองคำต่ำลงในรูปเหรียญสหรัฐฯ ● และหมายความว่า ผลตอบแทนของทองคำ ขึ้นอยู่กับเงินสกุลท้องถิ่นต่าง ๆ ด้วย รีวิว: มีเพียงเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และสวิสฟรังก์เท่านั้น ที่แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับราคาทองคำในปี 2022 ● ในเดือนตุลาคม เงินเยน และเงินหยวนสามารถซื้อทองคำได้น้อยลง (ค่าเงินอ่อนเมื่อเทียบกับทองคำ) ● ขณะที่เงินสกุลอื่น ๆ แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับทองคำ ● เงินเหรียญสหรัฐฯ 3 เดือนที่ผ่านมา แข็งค่าขึ้นกว่าเดิม 4.1% เมื่อเทียบกับทองคำ โดยแข็งกว่าปีก่อนหน้า 4.0% ● เงินปอนด์อังกฤษ 3 เดือนที่ผ่านมา แข็งค่าขึ้น 2.7% เมื่อเทียบกับทองคำ โดยแข็งกว่าปีก่อน 2.6% รีวิว: AWS ปรับตัวขึ้น 0.8% ในเดือนตุลาคม และทำผลงานเหนือกว่าพอร์ต 60/40 เมื่อนับตั้งแต่ก่อตั้ง ● ตั้งแต่ตั้งพอร์ต AWS ให้ผลตอบแทนสูงกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 4.8% ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2022 เดือนตุลาคม 2022: AWS สร้างผลตอบแทนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 2.7% ● รีวิวผลตอบแทนของสินทรัพย์ต่าง ๆ ที่เราให้น้ำหนัก 25% ● สินค้าโภคภัณฑ์: ทำผลงานได้ดี แต่ต่ำกว่าหุ้น ● พันธบัตร: ผลงานทรงตัว ● ทองคำ: สร้างผลตอบแทนเป็นลบ เพราะนักลงทุนชอบความเสี่ยงมากขึ้น รีวิว: AWS สร้างผลตอบแทนได้ดี ● AWS ให้ผลตอบแทนสูงกว่าพอร์ต 60/40 ในช่วงเวลาส่วนใหญ่ ● ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมาถือเป็นช่วงเวลาที่ท้าทาย รีวิว: AWS มีความผันผวนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 ● สัดส่วนการลงทุนในหุ้น 25-65% ช่วยลดความผันผวน ● ทองคำช่วยลดความผันผวนโดยรวมของพอร์ต เนื่องจากเป็นสินทรัพย์ที่ไม่มีความสัมพันธ์กับหุ้น รีวิว: AWS ขาดทุนน้อยกว่าพอร์ตการลงทุนดั้งเดิมแบบ 60/40 9 ครั้งจาก 10 ครั้งในช่วงที่ตลาดหุ้นปรับตัวลงมากที่สุด ● จุดเด่นสำคัญของ AWS คือ การจำกัดการขาดทุนเมื่อตลาดหุ้นโลกปรับตัวลง ● นับตั้งแต่จัดตั้ง AWS ขาดทุนน้อยกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 9 วันถ้านับจากใน 10 วันที่หุ้นโลกทำผลงานได้ย่ำแย่ที่สุด รีวิว: AWS ทำผลงานแย่กว่าพอร์ตการลงทุนดั้งเดิมแบบ 60/40 ในเดือนตุลาคม แต่ยังทำผลงานเหนือกว่าพอร์ต 60/40 ใน 59% ของเดือนทั้งหมด ● AWS สามารถสร้างผลตอบแทนเหนือกว่าพอร์ต 60/40 ใน 26 เดือนจาก 44 เดือน สรุป FVMR แต่ละภูมิภาค ● พื้นฐาน (Fundamentals): หุ้นสหรัฐฯ มีผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ROE (Return on Equity) สูงที่สุด ● มูลค่า (Valuation): หุ้นตลาดเกิดใหม่ และหุ้นยุโรปพัฒนาแล้วมี PE (Price-to-Earnings) ต่ำที่สุด และหุ้นญี่ปุ่นมี PB (Price-to-Book) ต่ำที่สุด ● แนวโน้ม (Momentum): หุ้นญี่ปุ่นสร้างผลตอบแทนได้ดีที่สุดในปีที่ผ่านมา ● ความเสี่ยง (Risk): หุ้นเอเชียแปซิฟิก และหุ้นญี่ปุ่น มีอัตราหนี้สินต่อทุน (Gearing) ต่ำที่สุด น้ำหนัก: เราให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้น 25% โดยแบ่งเป็น 5% ในแต่ละภูมิภาค ● เราไม่ได้เปลี่ยนน้ำหนักการลงทุน มุมมอง: ราคาน้ำมันเริ่มปรับตัวลงมา แต่เงินเฟ้อยังคงสูง ● น้ำมันเป็นแหล่งพลังงานหลักสำหรับการเกษตร การผลิต และการคมนาคม ● ราคาน้ำมันที่ปรับตัวลงมาอาจช่วยชะลออัตราเงินเฟ้อ หรือทำให้อัตราเงินเฟ้อลดลงได้ ● อย่างไรก็ดี เรากลับพบว่า อัตราเงินเฟ้อยังคงสูงขึ้น มุมมอง: อัตราเงินเฟ้อปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่อง ● ราคาสินค้าและบริการที่แพงขึ้น เมื่อถึงจุดหนึ่งจะทำให้ความต้องการลดลง ● ฐานเงินเฟ้อที่สูงขึ้น จะแสดงระดับอัตราเงินเฟ้อที่ลดลง ● ดังนั้น เงินเฟ้ออาจเข้าใกล้จุดสูงสุดแล้ว แม้ว่าธนาคารกลางยังไม่ได้เข้าแทรกแซง ผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล 3 เดือนปรับตัวสูงขึ้นเป็น 3.8% จาก 1.4% ในปีที่ผ่านมา ● อย่างไรก็ดี อัตราเงินเฟ้อปรับตัวสูงขึ้นเร็วกว่าผลตอบแทนพันธบัตร ● เราคาดหวังว่าธนาคารกลางจะยังคงขึ้นดอกเบี้ยต่อ เพราะดูเหมือนว่ายังชะลอเงินเฟ้อไม่ได้ มุมมอง: ประธาน FED ตั้งมั่นที่จะหยุดยั้งเงินเฟ้อ ● ประธาน FED ยืนยันว่าความเดือดร้อนเป็นสิ่งที่จะเกิดขึ้น เพื่อให้เงินเฟ้อชะลอตัวลง ● “ข้อมูลจากการประชุมครั้งที่ผ่านมาแสดงให้เห็นว่าเป้าหมายดอกเบี้ยนโยบายอาจจะสูงกว่าที่คาดการณ์ไว้แต่แรก” ● FED จะพิจารณาผลลัพธ์จากการขึ้นดอกเบี้ยติดต่อกันหลายครั้ง ● หลายคนคาดว่าคำพูดของประธาน FED ส่งสัญญาณว่า FED กำลังจะลดขนาดการขึ้นดอกเบี้ย มุมมอง: ตลาดมองว่าเงินเฟ้อจะเข้าสู่ภาวะปกติ ● อัตราเงินเฟ้อคาดการณ์สหรัฐฯ 10 ปี อยู่ที่ 2.5% ส่งสัญญาณว่าตลาดคาดว่า FED จะควบคุมเงินเฟ้อได้ ● ถ้าการคาดการณ์เงินเฟ้อต่ำกว่าความจริง จะทำให้ราคาหุ้น สินค้าโภคภัณฑ์ และทองคำปรับตัวขึ้น มุมมอง: ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) ดูเหมือนว่าจะสูงที่สุดแล้ว ● ถ้าราคาน้ำมันไม่ปรับตัวขึ้นอย่างมีนัยสำคัญแล้ว เราคาดว่า CPI น่าจะผ่านจุดที่สูงที่สุดแล้ว ● แต่ว่าราคาน้ำมันที่อยู่ในระดับสูง น่าจะทำให้ราคาอาหารและสินค้าอื่น ๆ ทรงตัวในระดับสูง ทำให้ไม่น่าจะเห็นการปรับตัวลงของ CPI อย่างรวดเร็วภายใน 2-3 เดือนหน้า มุมมอง: การขึ้นดอกเบี้ยในเดือนธันวาคมได้ถูกตลาดคาดการณ์ไว้แล้ว (priced in) ● ตลาดมั่นใจ 100% ว่า FED จะขึ้นดอกเบี้ยในการประชุมครั้งถัดไป ● โดยเชื่อมั่น 61.5% ว่าจะมีการขึ้นดอกเบี้ย 0.5% เข้าสู่ระดับ 4.25-4.50% มุมมอง: การขึ้นดอกเบี้ยครั้งนี้เป็นการปรับขึ้นที่เร็วที่สุดตั้งแต่ช่วง 1980 ● ในการขึ้นดอกเบี้ยปี 2004 ดอกเบี้ยนโยบายปรับขึ้นรวม 4.25% ● ในการขึ้นดอกเบี้ยครั้งนี้ ดอกเบี้ยปรับขึ้นแล้ว 3.75% ● ตลาดคาดว่าดอกเบี้ยจะเข้าสู่ระดับ 4.25% ในเดือนธันวาคม 2022 และปรับเพิ่มขึ้นอีกในเดือนกุมภาพันธ์ 2023 มุมมอง: ดอกเบี้ยไม่เคยขึ้นสู่ระดับ 3% ด้วยความเร็วขนาดนี้ ตั้งแต่ช่วง 1950 มุมมอง: ตั้งแต่เดือนมีนาคม ตลาดคาดว่า FED จะดำเนินนโยบายเข้มงวดมากขึ้น ● ตลาดเชื่อว่าดอกเบี้ยนโยบายจะสูงสุดในเดือนมิถุนายน 2023 ● FED กำลังสู้กับเงินเฟ้ออย่างเข้มข้น แม้ว่าจะต้องเสี่ยงกับเภาวะศรษฐกิจถดถอย มุมมอง: ตลาดมองว่า FED เข้มงวดด้านนโยบายการเงินมากที่สุด ● ดอกเบี้ยนโยบายที่ต่ำกว่าของธนาคารกลางยุโรป (ECB) และธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) ทำให้เชื่อว่าเงินยูโร และเงินเยนจะอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐฯ มุมมอง: การกลับทิศของกราฟอัตราส่วนผลตอบแทนพันธบัตร (inverted yield-curve) รุนแรงขึ้น ● ตั้งแต่ปี 1970 inverted yield-curve จะเกิดขึ้นก่อนภาวะเศรษฐกิจถดถอย ● หลังจากเกิด inverted yield curve จะเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยโดยเฉลี่ยภายใน 1 ปี (ประมาณกลางปี 2023) มุมมอง: จับตาดูความแตกต่างระหว่างผลตอบแทนพันธบัตร (yield spread) ● อัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่แตกต่างกันมากขึ้น แสดงให้เห็นว่านักลงทุนต้องการผลตอบแทนที่มากขึ้น ให้คุ้มค่ากับความเสี่ยง ● สหภาพยุโรปมี yield spread ใกล้เคียงกับในช่วง COVID แล้ว แต่ yield spread ในสหรัฐฯ ยังต่ำกว่า และปรับตัวต่ำลงเรื่อย ๆ มุมมอง: หุ้นถูกประเมินมูลค่าต่ำลงมา โดยมาจากราคาที่ต่ำลงเป็นสำคัญ ● มูลค่าหุ้นโลกที่ถูกประเมินไว้ปรับตัวต่ำลงมากว่าค่าเฉลี่ยในอดีตเล็กน้อย ● แม้ว่าอัตราการทำกำไรจะต่ำกว่าเดิม แต่ว่ายังไม่มีการปรับประมาณการลงอย่างมีนัยสำคัญ มุมมอง: ความเห็นตลาดยังมองว่ากำไรของบริษัทจะเพิ่มขึ้น ● เป็นสิ่งที่ดี ● นักวิเคราะห์เชื่อว่ากำไรของบริษัทจะเติบโต 7% ในปีหน้า และจะเติบโตมากขึ้นเป็นลำดับ มุมมอง: ความเห็นตลาดยังมองว่ากำไรของบริษัทจะเพิ่มขึ้น ● เป็นสิ่งที่ดี ● นักวิเคราะห์เชื่อว่ากำไรของบริษัทจะเติบโต 7% ในปีหน้า และจะเติบโตมากขึ้นเป็นลำดับ มุมมอง: สำหรับภูมิภาคอื่น ๆ คาดว่าอัตราการทำกำไรจะลดลงต่อเนื่อง 2 ปี ● แม้ว่าจะมีความเสี่ยงเศรษฐกิจถดถอย แต่ว่ายังมีการเติบโตของกำไร (การเติบโตไม่ติดลบ) ● นักวิเคราะห์ค่อนข้างกังวลกับบริษัทในสหรัฐฯ ทั้งนี้ นักลงทุนมักจะมองโลกในแง่ดีกว่าความเป็นจริง และไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงของตลาดทันท่วงที รีวิว: ECB อาจจะชะลอการขึ้นดอกเบี้ย ● เงินเฟ้อปรับตัวสูงที่สุดอีกครั้งในเดือนตุลาคม ที่ระดับ 10.7% ● หลังจากการขึ้นดอกเบี้ย 0.75% ในเดือนตุลาคม ECB ส่งสัญญาณว่าจะลดอัตราการขึ้นดอกเบี้ยลงในเดือนธันวาคม ● อย่างไรก็ดี ถ้า FED ยังขึ้นดอกเบี้ยต่อเนื่อง แต่ ECB ลดอัตราการขึ้นดอกเบี้ยลง ค่าเงินยูโรอาจอ่อนตัวลงอีก ทำให้เกิดภาวะขาดดุลทางการค้า มุมมอง: ยังไม่มีการดำเนินนโยบายการเงินแบบตึงตัว (QT) เท่าไรนัก ● ธนาคารกลางเริ่มให้พันธบัตรหมดอายุ ทำให้งบดุลไม่โตขึ้นแล้ว ● งบดุลของ BOJ โตขึ้นเล็กน้อยในเดือนตุลาคม มุมมอง: เราเชื่อว่าธนาคารกลางจะกลับทิศนโยบายในอนาคต ● ธนาคารกลางสื่อสารว่าจะควบคุมให้เงินเฟ้อลดลง และนักลงทุนดูเหมือนว่าจะเชื่อเช่นนั้น ● เราเชื่อว่าธนาคารกลาง และนักการเมืองพร้อมที่จะเปลี่ยนนโยบาย หากมีความเสียหายเกิดขึ้นกับเศรษฐกิจ ● และเราเชื่อว่าธนาคารกลางกำลังจะทำให้เกิดความเสียหายกับเศรษฐกิจ มุมมอง: stagflation จะเป็นสิ่งเลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้น ● ถ้าธนาคารกลางชะลอการเติบโตของเศรษฐกิจ แต่ไม่สามารถหยุดเงินเฟ้อได้ จะเกิดภาวะ stagflation ● ภาวะ stagflation ส่งผลเสียต่อหุ้นและพันธบัตร ● สินค้าโภคภัณฑ์มักสร้างผลตอบแทนได้ดีในช่วงเงินเฟ้อ และทองคำมักสร้างผลตอบแทนได้ดีในช่วง stagflation ● เนื่องจากยังมีความไม่แน่นอนสูง เราจำกัดการลงทุนในหุ้น มุมมอง: ตลาดหุ้นสหรัฐฯ มีบทบาทมากต่อตลาดการเงินโลก ● เงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นเหมือนสินทรัพย์ปลอดภัย ซึ่งการขึ้นดอกเบี้ยและการทำ QT จะทำให้ค่าเงินดอลลาร์แข็งขึ้นอีก ● เราเชื่อว่าตลาดหุ้นสหรัฐฯ มีความยืดหยุ่นต่อความเสี่ยงได้ดีกว่าตลาดหุ้นอื่น ● เรายังให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้นในแต่ละภูมิภาคอย่างน้อย 5% เนื่องจากเราเชื่อว่าตลาดหุ้นยังอ่อนแอ มุมมอง: ECB ก็ต้องสู้กับเงินเฟ้อเช่นกัน ● ราคาพลังงานที่สูงขึ้นจะกดดันการบริโภค และการผลิต ● เราคงน้ำหนัก 5% ในการลงทุนในตลาดหุ้นยุโรปกลุ่มพัฒนาแล้ว มุมมอง: การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ส่งผลลบต่อตลาดเกิดใหม่ ● การขึ้นดอกเบี้ยของ FED น่าจะทำให้เงินเหรียญสหรัฐฯ แข็งค่า สภาพคล่องในระบบลดลง และทำให้ตลาดเกิดใหม่ได้รับผลกระทบเชิงลบได้ ● เงินเหรียญสหรัฐฯ ถือเป็นสินทรัพย์ปลอดภัย (safe haven) ซึ่งนักลงทุนอาจใช้พักเงินในช่วงที่สถานการณ์โลกมีความไม่แน่นอนสูง มุมมอง: การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และเศรษฐกิจจีนยังเป็นข้อกังวล ● การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำให้การชำระหนี้ที่เป็นเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำได้ยากขึ้น เนื่องจากจะต้องใช้เงินสกุลท้องถิ่นมาแลกมากขึ้น ● เรายังไม่เชื่อมั่นว่าเศรษฐกิจจีนจะฟื้นตัว ● ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ได้ครองอำนาจอีกครั้ง และการควบคุมเงินเฟ้อของรัฐบาลอาจกดดันภาคเศรษฐกิจและรายได้ของบริษัท ตลอดจนนโยบายโควิดเป็นศูนย์ (zero-covid policy) ยังไม่ได้ถูกยกเลิก มุมมอง: หุ้นจีนยังคงกดดันผลตอบแทนหุ้นตลาดเกิดใหม่ และตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่น ● หุ้นจีนน่าจะยังคงกดดันผลตอบแทนหุ้นตลาดเกิดใหม่ และตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่นต่อไป ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นตลาดเกิดใหม่ และ 5% ในหุ้นตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่น มุมมอง: เงินเยนน่าจะอ่อนค่าต่อไป ● BOJ ยังคงดอกเบี้ยนโยบายที่ระดับต่ำ และคาดหวังว่าอัตราเงินเฟ้อจะเพิ่มสูงขึ้น ● เราให้น้ำหนัก 5% ในตลาดหุ้นญี่ปุ่น มุมมอง: เราให้น้ำหนัก 25% ในพันธบัตร ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนน้ำหนักในการลงทุน มุมมอง: พันธบัตรยังเป็นการลงทุนที่ปลอดภัย แม้ว่าในปี 2022 จะให้ผลตอบแทนที่ค่อนข้างแย่ ● ในช่วงเศรษฐกิจถดถอย การลงทุนในสินทรัพย์ปลอดภัย เช่น พันธบัตรรัฐบาล มักให้ผลตอบแทนดี ● อย่างไรก็ดี ในช่วงที่เงินเฟ้อสูง อัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่ต่ำ อาจทำให้อัตราผลตอบแทนที่แท้จริง (real return) ติดลบ ● เราไม่ได้ใช้พันธบัตรในการเก็งกำไร เพื่อสร้างผลตอบแทน แต่เรามองว่าพันธบัตรสามารถป้องกันความเสี่ยงได้ดี มุมมอง: เราให้น้ำหนักสินค้าโภคภัณฑ์ที่ 25% ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนน้ำหนักในการลงทุน มุมมอง: แม้ว่าราคาก๊าซธรรมชาติจะกลับมาอยู่ในระดับเดียวกันเดือนมิถุนายน 2021 แต่ราคาน้ำมันยังคงสูง ● ราคาก๊าซธรรมชาติในยุโรปกลับเข้าสู่ระดับปกติ เนื่องจากมีสำรองเพียงพอ และสภาพภูมิอากาศไม่รุนแรงนัก มุมมอง: ตลาดเชื่อว่าราคาก๊าซธรรมชาติจะกลับมาแพงขึ้น ● การพึ่งพิงพลังงานจากรัสเซียจะส่งผลกระทบต่อตลาดพลังงานในยุโรป ● ถ้าอากาศหนาวเย็นลง ปริมาณก๊าซสำรองอาจลดลงอย่างรวดเร็ว ทำให้ราคาปรับตัวขึ้น มุมมอง: ปัจจัยพื้นฐานยังสนับสนุนราคาน้ำมัน ● กลุ่ม OPEC+ ผลิตได้ไม่เป็นไปตามเป้า และมีการลดกำลังการผลิต ทำให้ราคาน้ำมันน่าจะอยู่ในระดับสูงต่อไป ● สงครามในยูเครนน่าจะก่อให้เกิดปัญหาด้านอุปทานต่ออีกระยะหนึ่ง ● ราคาพลังงานน่าจะอยู่ในระดับสูงต่อไป จากการลงทุนที่ไม่เพียงพอในโครงการใหม่ ๆ มุมมอง: อุปทานสำหรับสินค้าทางการเกษตรอาจตึงตัวมากขึ้นอีก ● นอกจากพลังงานแล้ว รัสเซียยังเป็นผู้ส่งออกโลหะอุตสาหกรรมหลายชนิด รวมถึงรัสเซีย และยูเครนยังเป็นผู้ส่งออกสำคัญของสินค้าทางการเกษตร ● ลานีญ่า (La Nina) อาจทำให้อุปทานสินค้าเกษตร เช่น ข้าวโพด ถั่วเหลือง และแป้ง ลดลง ซึ่งลานีญ่านี้เองทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไป เกิดพายุรุนแรง และความแห้งแล้ง ซึ่งผลกระทบอาจแตกต่างกันตามภูมิภาค มุมมอง: ราคาพลังงานที่สูงขึ้น ส่งผลต่อราคาอาหาร แต่ราคาธัญพืชฟื้นตัวได้เล็กน้อยในเดือนกันยายน ● ก๊าซธรรมชาติใช้ในการทำปุ๋ย และราคาที่เพิ่มขึ้นของปุ๋ยทำให้เมล็ดพันธุ์ต้องปรับราคาขึ้นตามไปด้วย ● เมื่อราคาก๊าซธรรมชาติต่ำลง บริษัทผลิตปุ๋ยอาจกลับมาผลิตปุ๋ยอีกครั้ง ● ข้าวโพดถูกใช้เป็นอาหารของสัตว์ ซึ่งราคาข้าวโพดที่แพงขึ้นทำให้ราคาเนื้อสัตว์ปรับขึ้นตาม มุมมอง: ดัชนีราคาอาหารโลกปรับขึ้นสูงที่สุดในเดือนมีนาคม 2022 ที่ 160 และปัจจุบันอยู่ที่ 136 ในเดือนกันยายน 2022 ● การห้ามการส่งออกอาหารของบางประเทศทำให้เกิดการขาดแคลนอาหารและทำให้ราคาอาหารสูงขึ้น ● ราคาน้ำมันพืชและธัญพืชที่ปรับตัวลงทำให้ดัชนีราคาอาหารปรับตัวลง ● ราคาเนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์จากนมอยู่ในระดับเดียวกับเดือนมีนาคม 2022 มุมมอง: ราคาสินค้าโภคภัณฑ์น่าจะยังปรับขึ้นต่อได้ ● การฟื้นตัวของความต้องการ (อาหารและพลังงาน) ภาวะเงินเฟ้อ และปัญหาห่วงโซ่อุปทาน ทั้งที่เกี่ยวและไม่เกี่ยวกับสงครามจะผลักดันให้สินค้าโภคภัณฑ์ปรับตัวสูงขึ้น ● การเปิดเมืองอีกครั้งของจีนจะทำให้ความต้องการสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● ถ้าเกิดภาวะ stagflation คาดว่าสินค้าโภคภัณฑ์จะสร้างผลตอบแทนได้ดี มุมมอง: เราให้น้ำหนักทองคำที่ 25% ● เราไม่ได้เปลี่ยนแปลงน้ำหนักการลงทุน มุมมอง: ทองคำจะเป็นเหมือนหลักประกันป้องกันความเสี่ยง ● สงครามในยูเครนทำให้เกิดความไม่แน่นอน ผลักดันความคาดหวังอัตราเงินเฟ้อ ทำให้สินทรัพย์ปลอดภัย เช่น ทองคำ ได้รับความสนใจมากขึ้น ● อย่างไรก็ดี ความคาดหวังการขึ้นดอกเบี้ย อาจกดดันราคาทองคำ ● โดยทั่วไป ทองคำจะช่วยป้องกันความเสี่ยงในช่วงตลาดขาลงได้ ความเสี่ยง: เงินเฟ้อถูกควบคุมได้อย่างรวดเร็ว ● ถ้าธนาคารกลางสร้างความแปลกใจให้กับตลาดด้วยการขึ้นดอกเบี้ยเร็วและแรง พร้อมกับการดึงสภาพคล่องออกจากตลาด อาจจะทำให้ตลาดหุ้นปรับตัวลงอย่างรุนแรง ● เราไม่ได้ให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้นมาก หากธนาคารกลางปรับเปลี่ยนนโยบาย และหุ้นปรับตัวสูงขึ้น อาจทำให้เราเสียโอกาสบ้าง ● เศรษฐกิจจีนที่อ่อนแออาจลดความต้องการของสินค้าโภคภัณฑ์ กดดันทำให้ราคาต่ำลงได้ ● ราคาสินค้าโภคภัณฑ์อื่นอาจปรับตัวลงพร้อมกับราคาพลังงาน เนื่องจากพลังงานเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิต ข้อสรุปที่สำคัญ ● AWS สร้างผลตอบแทนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 2.7% ในเดือนตุลาคม 2022 ● ธนาคารกลางกำลังขึ้นดอกเบี้ยในช่วงที่เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอย เพื่อชะลออัตราเงินเฟ้อ โดย stagflation เป็นสิ่งที่เลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้นได้ ● ความต้องการสินค้าจำเป็น (อาหารและพลังงาน) ภาวะเงินเฟ้อ และปัญหาห่วงโซ่อุปทานจะทำใหราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● พันธบัตรและทองคำใช้ในการลดความเสี่ยง ● ความเสี่ยง: เงินเฟ้อควบคุมได้ นโยบายการเงินทำให้ตลาดหุ้นปรับลงอย่างรุนแรง และเศรษฐกิจจีนที่อ่อนแอ

อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยของสหรัฐฯ ทำให้ค่าผ่อนบ้านสูงขึ้นมาก

อัปเดต: หุ้นกู้เอกชนทำผลงานได้แย่ในปีนี้ อัปเดต: หุ้นกู้เอกชนทำผลงานได้แย่ในปีนี้ อัปเดต: พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษให้ผลตอบแทนแย่อย่างมีนัยสำคัญในช่วงปีที่ผ่านมา อัปเดต: พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษให้ผลตอบแทนแย่อย่างมีนัยสำคัญในช่วงปีที่ผ่านมา กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (REIT) ก็ไม่สามารถป้องกันความเสี่ยงจากอัตราเงินเฟ้อได้ อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยของสหรัฐฯ ทำให้ค่าผ่อนบ้านสูงขึ้นมาก อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยมักจะตามมาด้วยราคาบ้านที่ลดลง อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยมักจะตามมาด้วยราคาบ้านที่ลดลง อัปเดต: เงินเหรียญสหรัฐฯ มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น อัปเดต: เงินเหรียญสหรัฐฯ มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น ● เงินเหรียญสหรัฐฯ ถูกใช้ในธุรกรรมทางการเงินกว่า 40% ของธุรกรรมทั้งหมด อัปเดต: เงินยูโรอ่อนค่าลงมากเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐฯ อัปเดต: ค่าเงินยูโรที่อ่อนค่าทำให้ดุลการค้าของเยอรมนีลดลงอย่างมีนัยสำคัญ อัปเดต: เงินเยนอ่อนตัวเนื่องจากธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) เข้าแทรกแซง อัปเดต: สหรัฐฯ และจีนยังคงมีความขัดแย้งเรื่องเทคโนโลยีเซมิคอนดักเตอร์ อัปเดต: จีนขยายอิทธิพลในห่วงโซ่การค้าโลก อัปเดต: จีนขยายอิทธิพลในห่วงโซ่การค้าโลก อัปเดต: ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ครองอำนาจต่ออีกครั้ง ● อดีตประธานาธิบดี หู จิ่นเทา ถูกพาตัวออกจากการประชุมพรรคคอมมิวนิสต์จีน ในวันที่ 22 ตุลาคม 2022 อัปเดต: การขาดแคลนอุปทานในเชิงโครงสร้างเป็นผลดีต่อราคาสินค้าโภคภัณฑ์ อัปเดต: OPEC+ ลดโควตาการผลิตน้ำมัน ซึ่งน่าจะทำให้อุปทานน้ำมันโลกลดลง อัปเดต: ประธานาธิบดี โจ ไบเดน ต้องการที่จะเพิ่มภาษีให้กับบริษัทผู้ผลิตพลังงาน ซึ่งจะลดแรงจูงใจในการลงทุน อัปเดต: เราอาจเห็นการรวมกลุ่มกันของกลุ่มผู้ผลิตสินแร่ที่ต้องใช้ในแบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้า คล้ายกับการรวมกลุ่มกันของ OPEC อัปเดต: ธนาคารกลางเริ่มเก็บสะสมทองคำมากขึ้น ข้อสรุปที่สำคัญ ● พันธบัตรทำผลงานได้ไม่ดีในปีนี้ ● เงินดอลลาร์สหรัฐฯ แข็งค่าขึ้นมาก และยังคงเป็นสกุลเงินสำรองหลักของโลก การแข็งค่าของเงินดอลลาร์กดดันเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ● ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ครองอำนาจต่อ ● ปัญหาการขาดแคลนอุปทานจะช่วยให้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● ธนาคารกลางเริ่มเก็บสะสมทองคำ รีวิว: เราให้น้ำหนักการลงทุน 25% ในแต่ละสินทรัพย์ ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักในครั้งนี้ รีวิว: หุ้นโลกปรับตัวลงในปี 2022 แต่ปรับตัวขึ้น 5.9% ในเดือนตุลาคม ● หุ้นโลกปรับตัวขึ้น 19.0% ในปี 2021 แต่ตั้งแต่ต้นปี 2022 ปรับตัวลง 20.8% ● ตลาดปรับตัวขึ้น เพราะความหวังว่าธนาคารกลางจะกลับทิศนโยบาย รีวิว: หุ้นสหรัฐฯ ทำผลงานได้ดีที่สุดเป็นอันดับ 2 ในเดือนตุลาคม โดยปรับขึ้น 8.3% ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นสหรัฐฯ ● การคาดการณ์ว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) จะผ่อนคลายท่าทีลง และ GDP ที่ขยายตัวมากกว่าที่ประมาณการไว้ทำให้หุ้นฟื้นตัวขึ้น รีวิว: หุ้นยุโรปทำผลงานได้ดีที่สุด โดยปรับตัวขึ้น 8.9% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นยุโรปกลุ่มพัฒนาแล้ว ● การฟื้นตัวของหุ้นยุโรปก็มาจากความคาดหวังว่าธนาคารกลางจะชะลอความเร็วในการขึ้นดอกเบี้ยลง รีวิว: ตลาดเกิดใหม่ปรับตัวลง 3.3% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นตลาดเกิดใหม่ โดยทำผลงานได้แย่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ● การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ กดดันผลตอบแทนของตลาดเกิดใหม่ รีวิว: หุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น ปรับตัวลงมากที่สุดเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน โดยปรับตัวลง 4.8% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น ● การปรับตัวลงของหุ้นจีน และไต้หวัน รวมถึงการแข็งค่าของดอลลาร์สหรัฐฯ กดดันผลตอบแทนของตลาดหุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น รีวิว: ตลาดญี่ปุ่นสร้างผลตอบแทนได้ดีเป็นอันดับ 3 ในเดือนตุลาคม โดยปรับตัวขึ้น 4.4% ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นญี่ปุ่น ● หุ้นญี่ปุ่นฟื้นตัวจากความคาดหวังของการผ่อนคลายท่าทีของ FED รีวิว: ตลาดตราสารหนี้ไทยทรงตัว ● เราให้น้ำหนัก 5% กับตราสารหนี้ไทย (แทนที่จะเป็นตราสารหนี้ต่างประเทศ) ซึ่งทรงตัวในช่วงที่ผ่านมา ● วัตถุประสงค์หลักของการลงทุนในตราสารหนี้ เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากตลาดขาลง รีวิว: ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ให้ผลตอบแทน 3.1% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 25% กับสินค้าโภคภัณฑ์ ● ราคาสินค้าโภคภัณฑ์เป็นขาขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่เดือนเมษายน 2020 รีวิว: น้ำมันดิบ WTI ฟื้นตัวเล็กน้อย โดยราคาปิด ณ สิ้นเดือนตุลาคม อยู่ที่ 87 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล รีวิว: พลังงานสร้างผลตอบแทนดีที่สุด รองลงมาคือปศุสัตว์ ● การลดจำนวนโควต้าการผลิตของ OPEC+ ทำให้ราคาน้ำมันสูงขึ้น ● เราเห็นการฟื้นตัวของราคาปศุสัตว์ เช่นกัน รีวิว: ทองคำปรับตัวลงในปี 2022 โดยปรับตัวลง 2.3% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 25% ในทองคำ ● ราคาทองคำอยู่ที่ 1,633 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อออนซ์ ● การฟื้นตัวของหุ้น ทำให้ราคาสินทรัพย์ปลอดภัย เช่น ทองคำ ถูกกดดัน รีวิว: ความอ่อนแอของผลตอบแทนจากการลงทุนในทองคำมีส่วนสำคัญจากการแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ● เสมือนว่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นคู่แลกเปลี่ยน โดยการแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำให้ราคาทองคำต่ำลงในรูปเหรียญสหรัฐฯ ● และหมายความว่า ผลตอบแทนของทองคำ ขึ้นอยู่กับเงินสกุลท้องถิ่นต่าง ๆ ด้วย รีวิว: มีเพียงเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และสวิสฟรังก์เท่านั้น ที่แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับราคาทองคำในปี 2022 ● ในเดือนตุลาคม เงินเยน และเงินหยวนสามารถซื้อทองคำได้น้อยลง (ค่าเงินอ่อนเมื่อเทียบกับทองคำ) ● ขณะที่เงินสกุลอื่น ๆ แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับทองคำ ● เงินเหรียญสหรัฐฯ 3 เดือนที่ผ่านมา แข็งค่าขึ้นกว่าเดิม 4.1% เมื่อเทียบกับทองคำ โดยแข็งกว่าปีก่อนหน้า 4.0% ● เงินปอนด์อังกฤษ 3 เดือนที่ผ่านมา แข็งค่าขึ้น 2.7% เมื่อเทียบกับทองคำ โดยแข็งกว่าปีก่อน 2.6% รีวิว: AWS ปรับตัวขึ้น 0.8% ในเดือนตุลาคม และทำผลงานเหนือกว่าพอร์ต 60/40 เมื่อนับตั้งแต่ก่อตั้ง ● ตั้งแต่ตั้งพอร์ต AWS ให้ผลตอบแทนสูงกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 4.8% ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2022 เดือนตุลาคม 2022: AWS สร้างผลตอบแทนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 2.7% ● รีวิวผลตอบแทนของสินทรัพย์ต่าง ๆ ที่เราให้น้ำหนัก 25% ● สินค้าโภคภัณฑ์: ทำผลงานได้ดี แต่ต่ำกว่าหุ้น ● พันธบัตร: ผลงานทรงตัว ● ทองคำ: สร้างผลตอบแทนเป็นลบ เพราะนักลงทุนชอบความเสี่ยงมากขึ้น รีวิว: AWS สร้างผลตอบแทนได้ดี ● AWS ให้ผลตอบแทนสูงกว่าพอร์ต 60/40 ในช่วงเวลาส่วนใหญ่ ● ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมาถือเป็นช่วงเวลาที่ท้าทาย รีวิว: AWS มีความผันผวนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 ● สัดส่วนการลงทุนในหุ้น 25-65% ช่วยลดความผันผวน ● ทองคำช่วยลดความผันผวนโดยรวมของพอร์ต เนื่องจากเป็นสินทรัพย์ที่ไม่มีความสัมพันธ์กับหุ้น รีวิว: AWS ขาดทุนน้อยกว่าพอร์ตการลงทุนดั้งเดิมแบบ 60/40 9 ครั้งจาก 10 ครั้งในช่วงที่ตลาดหุ้นปรับตัวลงมากที่สุด ● จุดเด่นสำคัญของ AWS คือ การจำกัดการขาดทุนเมื่อตลาดหุ้นโลกปรับตัวลง ● นับตั้งแต่จัดตั้ง AWS ขาดทุนน้อยกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 9 วันถ้านับจากใน 10 วันที่หุ้นโลกทำผลงานได้ย่ำแย่ที่สุด รีวิว: AWS ทำผลงานแย่กว่าพอร์ตการลงทุนดั้งเดิมแบบ 60/40 ในเดือนตุลาคม แต่ยังทำผลงานเหนือกว่าพอร์ต 60/40 ใน 59% ของเดือนทั้งหมด ● AWS สามารถสร้างผลตอบแทนเหนือกว่าพอร์ต 60/40 ใน 26 เดือนจาก 44 เดือน สรุป FVMR แต่ละภูมิภาค ● พื้นฐาน (Fundamentals): หุ้นสหรัฐฯ มีผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ROE (Return on Equity) สูงที่สุด ● มูลค่า (Valuation): หุ้นตลาดเกิดใหม่ และหุ้นยุโรปพัฒนาแล้วมี PE (Price-to-Earnings) ต่ำที่สุด และหุ้นญี่ปุ่นมี PB (Price-to-Book) ต่ำที่สุด ● แนวโน้ม (Momentum): หุ้นญี่ปุ่นสร้างผลตอบแทนได้ดีที่สุดในปีที่ผ่านมา ● ความเสี่ยง (Risk): หุ้นเอเชียแปซิฟิก และหุ้นญี่ปุ่น มีอัตราหนี้สินต่อทุน (Gearing) ต่ำที่สุด น้ำหนัก: เราให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้น 25% โดยแบ่งเป็น 5% ในแต่ละภูมิภาค ● เราไม่ได้เปลี่ยนน้ำหนักการลงทุน มุมมอง: ราคาน้ำมันเริ่มปรับตัวลงมา แต่เงินเฟ้อยังคงสูง ● น้ำมันเป็นแหล่งพลังงานหลักสำหรับการเกษตร การผลิต และการคมนาคม ● ราคาน้ำมันที่ปรับตัวลงมาอาจช่วยชะลออัตราเงินเฟ้อ หรือทำให้อัตราเงินเฟ้อลดลงได้ ● อย่างไรก็ดี เรากลับพบว่า อัตราเงินเฟ้อยังคงสูงขึ้น มุมมอง: อัตราเงินเฟ้อปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่อง ● ราคาสินค้าและบริการที่แพงขึ้น เมื่อถึงจุดหนึ่งจะทำให้ความต้องการลดลง ● ฐานเงินเฟ้อที่สูงขึ้น จะแสดงระดับอัตราเงินเฟ้อที่ลดลง ● ดังนั้น เงินเฟ้ออาจเข้าใกล้จุดสูงสุดแล้ว แม้ว่าธนาคารกลางยังไม่ได้เข้าแทรกแซง ผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล 3 เดือนปรับตัวสูงขึ้นเป็น 3.8% จาก 1.4% ในปีที่ผ่านมา ● อย่างไรก็ดี อัตราเงินเฟ้อปรับตัวสูงขึ้นเร็วกว่าผลตอบแทนพันธบัตร ● เราคาดหวังว่าธนาคารกลางจะยังคงขึ้นดอกเบี้ยต่อ เพราะดูเหมือนว่ายังชะลอเงินเฟ้อไม่ได้ มุมมอง: ประธาน FED ตั้งมั่นที่จะหยุดยั้งเงินเฟ้อ ● ประธาน FED ยืนยันว่าความเดือดร้อนเป็นสิ่งที่จะเกิดขึ้น เพื่อให้เงินเฟ้อชะลอตัวลง ● “ข้อมูลจากการประชุมครั้งที่ผ่านมาแสดงให้เห็นว่าเป้าหมายดอกเบี้ยนโยบายอาจจะสูงกว่าที่คาดการณ์ไว้แต่แรก” ● FED จะพิจารณาผลลัพธ์จากการขึ้นดอกเบี้ยติดต่อกันหลายครั้ง ● หลายคนคาดว่าคำพูดของประธาน FED ส่งสัญญาณว่า FED กำลังจะลดขนาดการขึ้นดอกเบี้ย มุมมอง: ตลาดมองว่าเงินเฟ้อจะเข้าสู่ภาวะปกติ ● อัตราเงินเฟ้อคาดการณ์สหรัฐฯ 10 ปี อยู่ที่ 2.5% ส่งสัญญาณว่าตลาดคาดว่า FED จะควบคุมเงินเฟ้อได้ ● ถ้าการคาดการณ์เงินเฟ้อต่ำกว่าความจริง จะทำให้ราคาหุ้น สินค้าโภคภัณฑ์ และทองคำปรับตัวขึ้น มุมมอง: ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) ดูเหมือนว่าจะสูงที่สุดแล้ว ● ถ้าราคาน้ำมันไม่ปรับตัวขึ้นอย่างมีนัยสำคัญแล้ว เราคาดว่า CPI น่าจะผ่านจุดที่สูงที่สุดแล้ว ● แต่ว่าราคาน้ำมันที่อยู่ในระดับสูง น่าจะทำให้ราคาอาหารและสินค้าอื่น ๆ ทรงตัวในระดับสูง ทำให้ไม่น่าจะเห็นการปรับตัวลงของ CPI อย่างรวดเร็วภายใน 2-3 เดือนหน้า มุมมอง: การขึ้นดอกเบี้ยในเดือนธันวาคมได้ถูกตลาดคาดการณ์ไว้แล้ว (priced in) ● ตลาดมั่นใจ 100% ว่า FED จะขึ้นดอกเบี้ยในการประชุมครั้งถัดไป ● โดยเชื่อมั่น 61.5% ว่าจะมีการขึ้นดอกเบี้ย 0.5% เข้าสู่ระดับ 4.25-4.50% มุมมอง: การขึ้นดอกเบี้ยครั้งนี้เป็นการปรับขึ้นที่เร็วที่สุดตั้งแต่ช่วง 1980 ● ในการขึ้นดอกเบี้ยปี 2004 ดอกเบี้ยนโยบายปรับขึ้นรวม 4.25% ● ในการขึ้นดอกเบี้ยครั้งนี้ ดอกเบี้ยปรับขึ้นแล้ว 3.75% ● ตลาดคาดว่าดอกเบี้ยจะเข้าสู่ระดับ 4.25% ในเดือนธันวาคม 2022 และปรับเพิ่มขึ้นอีกในเดือนกุมภาพันธ์ 2023 มุมมอง: ดอกเบี้ยไม่เคยขึ้นสู่ระดับ 3% ด้วยความเร็วขนาดนี้ ตั้งแต่ช่วง 1950 มุมมอง: ตั้งแต่เดือนมีนาคม ตลาดคาดว่า FED จะดำเนินนโยบายเข้มงวดมากขึ้น ● ตลาดเชื่อว่าดอกเบี้ยนโยบายจะสูงสุดในเดือนมิถุนายน 2023 ● FED กำลังสู้กับเงินเฟ้ออย่างเข้มข้น แม้ว่าจะต้องเสี่ยงกับเภาวะศรษฐกิจถดถอย มุมมอง: ตลาดมองว่า FED เข้มงวดด้านนโยบายการเงินมากที่สุด ● ดอกเบี้ยนโยบายที่ต่ำกว่าของธนาคารกลางยุโรป (ECB) และธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) ทำให้เชื่อว่าเงินยูโร และเงินเยนจะอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐฯ มุมมอง: การกลับทิศของกราฟอัตราส่วนผลตอบแทนพันธบัตร (inverted yield-curve) รุนแรงขึ้น ● ตั้งแต่ปี 1970 inverted yield-curve จะเกิดขึ้นก่อนภาวะเศรษฐกิจถดถอย ● หลังจากเกิด inverted yield curve จะเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยโดยเฉลี่ยภายใน 1 ปี (ประมาณกลางปี 2023) มุมมอง: จับตาดูความแตกต่างระหว่างผลตอบแทนพันธบัตร (yield spread) ● อัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่แตกต่างกันมากขึ้น แสดงให้เห็นว่านักลงทุนต้องการผลตอบแทนที่มากขึ้น ให้คุ้มค่ากับความเสี่ยง ● สหภาพยุโรปมี yield spread ใกล้เคียงกับในช่วง COVID แล้ว แต่ yield spread ในสหรัฐฯ ยังต่ำกว่า และปรับตัวต่ำลงเรื่อย ๆ มุมมอง: หุ้นถูกประเมินมูลค่าต่ำลงมา โดยมาจากราคาที่ต่ำลงเป็นสำคัญ ● มูลค่าหุ้นโลกที่ถูกประเมินไว้ปรับตัวต่ำลงมากว่าค่าเฉลี่ยในอดีตเล็กน้อย ● แม้ว่าอัตราการทำกำไรจะต่ำกว่าเดิม แต่ว่ายังไม่มีการปรับประมาณการลงอย่างมีนัยสำคัญ มุมมอง: ความเห็นตลาดยังมองว่ากำไรของบริษัทจะเพิ่มขึ้น ● เป็นสิ่งที่ดี ● นักวิเคราะห์เชื่อว่ากำไรของบริษัทจะเติบโต 7% ในปีหน้า และจะเติบโตมากขึ้นเป็นลำดับ มุมมอง: ความเห็นตลาดยังมองว่ากำไรของบริษัทจะเพิ่มขึ้น ● เป็นสิ่งที่ดี ● นักวิเคราะห์เชื่อว่ากำไรของบริษัทจะเติบโต 7% ในปีหน้า และจะเติบโตมากขึ้นเป็นลำดับ มุมมอง: สำหรับภูมิภาคอื่น ๆ คาดว่าอัตราการทำกำไรจะลดลงต่อเนื่อง 2 ปี ● แม้ว่าจะมีความเสี่ยงเศรษฐกิจถดถอย แต่ว่ายังมีการเติบโตของกำไร (การเติบโตไม่ติดลบ) ● นักวิเคราะห์ค่อนข้างกังวลกับบริษัทในสหรัฐฯ ทั้งนี้ นักลงทุนมักจะมองโลกในแง่ดีกว่าความเป็นจริง และไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงของตลาดทันท่วงที รีวิว: ECB อาจจะชะลอการขึ้นดอกเบี้ย ● เงินเฟ้อปรับตัวสูงที่สุดอีกครั้งในเดือนตุลาคม ที่ระดับ 10.7% ● หลังจากการขึ้นดอกเบี้ย 0.75% ในเดือนตุลาคม ECB ส่งสัญญาณว่าจะลดอัตราการขึ้นดอกเบี้ยลงในเดือนธันวาคม ● อย่างไรก็ดี ถ้า FED ยังขึ้นดอกเบี้ยต่อเนื่อง แต่ ECB ลดอัตราการขึ้นดอกเบี้ยลง ค่าเงินยูโรอาจอ่อนตัวลงอีก ทำให้เกิดภาวะขาดดุลทางการค้า มุมมอง: ยังไม่มีการดำเนินนโยบายการเงินแบบตึงตัว (QT) เท่าไรนัก ● ธนาคารกลางเริ่มให้พันธบัตรหมดอายุ ทำให้งบดุลไม่โตขึ้นแล้ว ● งบดุลของ BOJ โตขึ้นเล็กน้อยในเดือนตุลาคม มุมมอง: เราเชื่อว่าธนาคารกลางจะกลับทิศนโยบายในอนาคต ● ธนาคารกลางสื่อสารว่าจะควบคุมให้เงินเฟ้อลดลง และนักลงทุนดูเหมือนว่าจะเชื่อเช่นนั้น ● เราเชื่อว่าธนาคารกลาง และนักการเมืองพร้อมที่จะเปลี่ยนนโยบาย หากมีความเสียหายเกิดขึ้นกับเศรษฐกิจ ● และเราเชื่อว่าธนาคารกลางกำลังจะทำให้เกิดความเสียหายกับเศรษฐกิจ มุมมอง: stagflation จะเป็นสิ่งเลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้น ● ถ้าธนาคารกลางชะลอการเติบโตของเศรษฐกิจ แต่ไม่สามารถหยุดเงินเฟ้อได้ จะเกิดภาวะ stagflation ● ภาวะ stagflation ส่งผลเสียต่อหุ้นและพันธบัตร ● สินค้าโภคภัณฑ์มักสร้างผลตอบแทนได้ดีในช่วงเงินเฟ้อ และทองคำมักสร้างผลตอบแทนได้ดีในช่วง stagflation ● เนื่องจากยังมีความไม่แน่นอนสูง เราจำกัดการลงทุนในหุ้น มุมมอง: ตลาดหุ้นสหรัฐฯ มีบทบาทมากต่อตลาดการเงินโลก ● เงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นเหมือนสินทรัพย์ปลอดภัย ซึ่งการขึ้นดอกเบี้ยและการทำ QT จะทำให้ค่าเงินดอลลาร์แข็งขึ้นอีก ● เราเชื่อว่าตลาดหุ้นสหรัฐฯ มีความยืดหยุ่นต่อความเสี่ยงได้ดีกว่าตลาดหุ้นอื่น ● เรายังให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้นในแต่ละภูมิภาคอย่างน้อย 5% เนื่องจากเราเชื่อว่าตลาดหุ้นยังอ่อนแอ มุมมอง: ECB ก็ต้องสู้กับเงินเฟ้อเช่นกัน ● ราคาพลังงานที่สูงขึ้นจะกดดันการบริโภค และการผลิต ● เราคงน้ำหนัก 5% ในการลงทุนในตลาดหุ้นยุโรปกลุ่มพัฒนาแล้ว มุมมอง: การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ส่งผลลบต่อตลาดเกิดใหม่ ● การขึ้นดอกเบี้ยของ FED น่าจะทำให้เงินเหรียญสหรัฐฯ แข็งค่า สภาพคล่องในระบบลดลง และทำให้ตลาดเกิดใหม่ได้รับผลกระทบเชิงลบได้ ● เงินเหรียญสหรัฐฯ ถือเป็นสินทรัพย์ปลอดภัย (safe haven) ซึ่งนักลงทุนอาจใช้พักเงินในช่วงที่สถานการณ์โลกมีความไม่แน่นอนสูง มุมมอง: การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และเศรษฐกิจจีนยังเป็นข้อกังวล ● การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำให้การชำระหนี้ที่เป็นเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำได้ยากขึ้น เนื่องจากจะต้องใช้เงินสกุลท้องถิ่นมาแลกมากขึ้น ● เรายังไม่เชื่อมั่นว่าเศรษฐกิจจีนจะฟื้นตัว ● ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ได้ครองอำนาจอีกครั้ง และการควบคุมเงินเฟ้อของรัฐบาลอาจกดดันภาคเศรษฐกิจและรายได้ของบริษัท ตลอดจนนโยบายโควิดเป็นศูนย์ (zero-covid policy) ยังไม่ได้ถูกยกเลิก มุมมอง: หุ้นจีนยังคงกดดันผลตอบแทนหุ้นตลาดเกิดใหม่ และตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่น ● หุ้นจีนน่าจะยังคงกดดันผลตอบแทนหุ้นตลาดเกิดใหม่ และตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่นต่อไป ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นตลาดเกิดใหม่ และ 5% ในหุ้นตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่น มุมมอง: เงินเยนน่าจะอ่อนค่าต่อไป ● BOJ ยังคงดอกเบี้ยนโยบายที่ระดับต่ำ และคาดหวังว่าอัตราเงินเฟ้อจะเพิ่มสูงขึ้น ● เราให้น้ำหนัก 5% ในตลาดหุ้นญี่ปุ่น มุมมอง: เราให้น้ำหนัก 25% ในพันธบัตร ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนน้ำหนักในการลงทุน มุมมอง: พันธบัตรยังเป็นการลงทุนที่ปลอดภัย แม้ว่าในปี 2022 จะให้ผลตอบแทนที่ค่อนข้างแย่ ● ในช่วงเศรษฐกิจถดถอย การลงทุนในสินทรัพย์ปลอดภัย เช่น พันธบัตรรัฐบาล มักให้ผลตอบแทนดี ● อย่างไรก็ดี ในช่วงที่เงินเฟ้อสูง อัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่ต่ำ อาจทำให้อัตราผลตอบแทนที่แท้จริง (real return) ติดลบ ● เราไม่ได้ใช้พันธบัตรในการเก็งกำไร เพื่อสร้างผลตอบแทน แต่เรามองว่าพันธบัตรสามารถป้องกันความเสี่ยงได้ดี มุมมอง: เราให้น้ำหนักสินค้าโภคภัณฑ์ที่ 25% ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนน้ำหนักในการลงทุน มุมมอง: แม้ว่าราคาก๊าซธรรมชาติจะกลับมาอยู่ในระดับเดียวกันเดือนมิถุนายน 2021 แต่ราคาน้ำมันยังคงสูง ● ราคาก๊าซธรรมชาติในยุโรปกลับเข้าสู่ระดับปกติ เนื่องจากมีสำรองเพียงพอ และสภาพภูมิอากาศไม่รุนแรงนัก มุมมอง: ตลาดเชื่อว่าราคาก๊าซธรรมชาติจะกลับมาแพงขึ้น ● การพึ่งพิงพลังงานจากรัสเซียจะส่งผลกระทบต่อตลาดพลังงานในยุโรป ● ถ้าอากาศหนาวเย็นลง ปริมาณก๊าซสำรองอาจลดลงอย่างรวดเร็ว ทำให้ราคาปรับตัวขึ้น มุมมอง: ปัจจัยพื้นฐานยังสนับสนุนราคาน้ำมัน ● กลุ่ม OPEC+ ผลิตได้ไม่เป็นไปตามเป้า และมีการลดกำลังการผลิต ทำให้ราคาน้ำมันน่าจะอยู่ในระดับสูงต่อไป ● สงครามในยูเครนน่าจะก่อให้เกิดปัญหาด้านอุปทานต่ออีกระยะหนึ่ง ● ราคาพลังงานน่าจะอยู่ในระดับสูงต่อไป จากการลงทุนที่ไม่เพียงพอในโครงการใหม่ ๆ มุมมอง: อุปทานสำหรับสินค้าทางการเกษตรอาจตึงตัวมากขึ้นอีก ● นอกจากพลังงานแล้ว รัสเซียยังเป็นผู้ส่งออกโลหะอุตสาหกรรมหลายชนิด รวมถึงรัสเซีย และยูเครนยังเป็นผู้ส่งออกสำคัญของสินค้าทางการเกษตร ● ลานีญ่า (La Nina) อาจทำให้อุปทานสินค้าเกษตร เช่น ข้าวโพด ถั่วเหลือง และแป้ง ลดลง ซึ่งลานีญ่านี้เองทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไป เกิดพายุรุนแรง และความแห้งแล้ง ซึ่งผลกระทบอาจแตกต่างกันตามภูมิภาค มุมมอง: ราคาพลังงานที่สูงขึ้น ส่งผลต่อราคาอาหาร แต่ราคาธัญพืชฟื้นตัวได้เล็กน้อยในเดือนกันยายน ● ก๊าซธรรมชาติใช้ในการทำปุ๋ย และราคาที่เพิ่มขึ้นของปุ๋ยทำให้เมล็ดพันธุ์ต้องปรับราคาขึ้นตามไปด้วย ● เมื่อราคาก๊าซธรรมชาติต่ำลง บริษัทผลิตปุ๋ยอาจกลับมาผลิตปุ๋ยอีกครั้ง ● ข้าวโพดถูกใช้เป็นอาหารของสัตว์ ซึ่งราคาข้าวโพดที่แพงขึ้นทำให้ราคาเนื้อสัตว์ปรับขึ้นตาม มุมมอง: ดัชนีราคาอาหารโลกปรับขึ้นสูงที่สุดในเดือนมีนาคม 2022 ที่ 160 และปัจจุบันอยู่ที่ 136 ในเดือนกันยายน 2022 ● การห้ามการส่งออกอาหารของบางประเทศทำให้เกิดการขาดแคลนอาหารและทำให้ราคาอาหารสูงขึ้น ● ราคาน้ำมันพืชและธัญพืชที่ปรับตัวลงทำให้ดัชนีราคาอาหารปรับตัวลง ● ราคาเนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์จากนมอยู่ในระดับเดียวกับเดือนมีนาคม 2022 มุมมอง: ราคาสินค้าโภคภัณฑ์น่าจะยังปรับขึ้นต่อได้ ● การฟื้นตัวของความต้องการ (อาหารและพลังงาน) ภาวะเงินเฟ้อ และปัญหาห่วงโซ่อุปทาน ทั้งที่เกี่ยวและไม่เกี่ยวกับสงครามจะผลักดันให้สินค้าโภคภัณฑ์ปรับตัวสูงขึ้น ● การเปิดเมืองอีกครั้งของจีนจะทำให้ความต้องการสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● ถ้าเกิดภาวะ stagflation คาดว่าสินค้าโภคภัณฑ์จะสร้างผลตอบแทนได้ดี มุมมอง: เราให้น้ำหนักทองคำที่ 25% ● เราไม่ได้เปลี่ยนแปลงน้ำหนักการลงทุน มุมมอง: ทองคำจะเป็นเหมือนหลักประกันป้องกันความเสี่ยง ● สงครามในยูเครนทำให้เกิดความไม่แน่นอน ผลักดันความคาดหวังอัตราเงินเฟ้อ ทำให้สินทรัพย์ปลอดภัย เช่น ทองคำ ได้รับความสนใจมากขึ้น ● อย่างไรก็ดี ความคาดหวังการขึ้นดอกเบี้ย อาจกดดันราคาทองคำ ● โดยทั่วไป ทองคำจะช่วยป้องกันความเสี่ยงในช่วงตลาดขาลงได้ ความเสี่ยง: เงินเฟ้อถูกควบคุมได้อย่างรวดเร็ว ● ถ้าธนาคารกลางสร้างความแปลกใจให้กับตลาดด้วยการขึ้นดอกเบี้ยเร็วและแรง พร้อมกับการดึงสภาพคล่องออกจากตลาด อาจจะทำให้ตลาดหุ้นปรับตัวลงอย่างรุนแรง ● เราไม่ได้ให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้นมาก หากธนาคารกลางปรับเปลี่ยนนโยบาย และหุ้นปรับตัวสูงขึ้น อาจทำให้เราเสียโอกาสบ้าง ● เศรษฐกิจจีนที่อ่อนแออาจลดความต้องการของสินค้าโภคภัณฑ์ กดดันทำให้ราคาต่ำลงได้ ● ราคาสินค้าโภคภัณฑ์อื่นอาจปรับตัวลงพร้อมกับราคาพลังงาน เนื่องจากพลังงานเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิต ข้อสรุปที่สำคัญ ● AWS สร้างผลตอบแทนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 2.7% ในเดือนตุลาคม 2022 ● ธนาคารกลางกำลังขึ้นดอกเบี้ยในช่วงที่เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอย เพื่อชะลออัตราเงินเฟ้อ โดย stagflation เป็นสิ่งที่เลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้นได้ ● ความต้องการสินค้าจำเป็น (อาหารและพลังงาน) ภาวะเงินเฟ้อ และปัญหาห่วงโซ่อุปทานจะทำใหราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● พันธบัตรและทองคำใช้ในการลดความเสี่ยง ● ความเสี่ยง: เงินเฟ้อควบคุมได้ นโยบายการเงินทำให้ตลาดหุ้นปรับลงอย่างรุนแรง และเศรษฐกิจจีนที่อ่อนแอ

อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยมักจะตามมาด้วยราคาบ้านที่ลดลง

อัปเดต: หุ้นกู้เอกชนทำผลงานได้แย่ในปีนี้ อัปเดต: หุ้นกู้เอกชนทำผลงานได้แย่ในปีนี้ อัปเดต: พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษให้ผลตอบแทนแย่อย่างมีนัยสำคัญในช่วงปีที่ผ่านมา อัปเดต: พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษให้ผลตอบแทนแย่อย่างมีนัยสำคัญในช่วงปีที่ผ่านมา กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (REIT) ก็ไม่สามารถป้องกันความเสี่ยงจากอัตราเงินเฟ้อได้ อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยของสหรัฐฯ ทำให้ค่าผ่อนบ้านสูงขึ้นมาก อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยมักจะตามมาด้วยราคาบ้านที่ลดลง อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยมักจะตามมาด้วยราคาบ้านที่ลดลง อัปเดต: เงินเหรียญสหรัฐฯ มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น อัปเดต: เงินเหรียญสหรัฐฯ มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น ● เงินเหรียญสหรัฐฯ ถูกใช้ในธุรกรรมทางการเงินกว่า 40% ของธุรกรรมทั้งหมด อัปเดต: เงินยูโรอ่อนค่าลงมากเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐฯ อัปเดต: ค่าเงินยูโรที่อ่อนค่าทำให้ดุลการค้าของเยอรมนีลดลงอย่างมีนัยสำคัญ อัปเดต: เงินเยนอ่อนตัวเนื่องจากธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) เข้าแทรกแซง อัปเดต: สหรัฐฯ และจีนยังคงมีความขัดแย้งเรื่องเทคโนโลยีเซมิคอนดักเตอร์ อัปเดต: จีนขยายอิทธิพลในห่วงโซ่การค้าโลก อัปเดต: จีนขยายอิทธิพลในห่วงโซ่การค้าโลก อัปเดต: ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ครองอำนาจต่ออีกครั้ง ● อดีตประธานาธิบดี หู จิ่นเทา ถูกพาตัวออกจากการประชุมพรรคคอมมิวนิสต์จีน ในวันที่ 22 ตุลาคม 2022 อัปเดต: การขาดแคลนอุปทานในเชิงโครงสร้างเป็นผลดีต่อราคาสินค้าโภคภัณฑ์ อัปเดต: OPEC+ ลดโควตาการผลิตน้ำมัน ซึ่งน่าจะทำให้อุปทานน้ำมันโลกลดลง อัปเดต: ประธานาธิบดี โจ ไบเดน ต้องการที่จะเพิ่มภาษีให้กับบริษัทผู้ผลิตพลังงาน ซึ่งจะลดแรงจูงใจในการลงทุน อัปเดต: เราอาจเห็นการรวมกลุ่มกันของกลุ่มผู้ผลิตสินแร่ที่ต้องใช้ในแบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้า คล้ายกับการรวมกลุ่มกันของ OPEC อัปเดต: ธนาคารกลางเริ่มเก็บสะสมทองคำมากขึ้น ข้อสรุปที่สำคัญ ● พันธบัตรทำผลงานได้ไม่ดีในปีนี้ ● เงินดอลลาร์สหรัฐฯ แข็งค่าขึ้นมาก และยังคงเป็นสกุลเงินสำรองหลักของโลก การแข็งค่าของเงินดอลลาร์กดดันเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ● ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ครองอำนาจต่อ ● ปัญหาการขาดแคลนอุปทานจะช่วยให้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● ธนาคารกลางเริ่มเก็บสะสมทองคำ รีวิว: เราให้น้ำหนักการลงทุน 25% ในแต่ละสินทรัพย์ ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักในครั้งนี้ รีวิว: หุ้นโลกปรับตัวลงในปี 2022 แต่ปรับตัวขึ้น 5.9% ในเดือนตุลาคม ● หุ้นโลกปรับตัวขึ้น 19.0% ในปี 2021 แต่ตั้งแต่ต้นปี 2022 ปรับตัวลง 20.8% ● ตลาดปรับตัวขึ้น เพราะความหวังว่าธนาคารกลางจะกลับทิศนโยบาย รีวิว: หุ้นสหรัฐฯ ทำผลงานได้ดีที่สุดเป็นอันดับ 2 ในเดือนตุลาคม โดยปรับขึ้น 8.3% ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นสหรัฐฯ ● การคาดการณ์ว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) จะผ่อนคลายท่าทีลง และ GDP ที่ขยายตัวมากกว่าที่ประมาณการไว้ทำให้หุ้นฟื้นตัวขึ้น รีวิว: หุ้นยุโรปทำผลงานได้ดีที่สุด โดยปรับตัวขึ้น 8.9% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นยุโรปกลุ่มพัฒนาแล้ว ● การฟื้นตัวของหุ้นยุโรปก็มาจากความคาดหวังว่าธนาคารกลางจะชะลอความเร็วในการขึ้นดอกเบี้ยลง รีวิว: ตลาดเกิดใหม่ปรับตัวลง 3.3% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นตลาดเกิดใหม่ โดยทำผลงานได้แย่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ● การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ กดดันผลตอบแทนของตลาดเกิดใหม่ รีวิว: หุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น ปรับตัวลงมากที่สุดเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน โดยปรับตัวลง 4.8% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น ● การปรับตัวลงของหุ้นจีน และไต้หวัน รวมถึงการแข็งค่าของดอลลาร์สหรัฐฯ กดดันผลตอบแทนของตลาดหุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น รีวิว: ตลาดญี่ปุ่นสร้างผลตอบแทนได้ดีเป็นอันดับ 3 ในเดือนตุลาคม โดยปรับตัวขึ้น 4.4% ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นญี่ปุ่น ● หุ้นญี่ปุ่นฟื้นตัวจากความคาดหวังของการผ่อนคลายท่าทีของ FED รีวิว: ตลาดตราสารหนี้ไทยทรงตัว ● เราให้น้ำหนัก 5% กับตราสารหนี้ไทย (แทนที่จะเป็นตราสารหนี้ต่างประเทศ) ซึ่งทรงตัวในช่วงที่ผ่านมา ● วัตถุประสงค์หลักของการลงทุนในตราสารหนี้ เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากตลาดขาลง รีวิว: ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ให้ผลตอบแทน 3.1% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 25% กับสินค้าโภคภัณฑ์ ● ราคาสินค้าโภคภัณฑ์เป็นขาขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่เดือนเมษายน 2020 รีวิว: น้ำมันดิบ WTI ฟื้นตัวเล็กน้อย โดยราคาปิด ณ สิ้นเดือนตุลาคม อยู่ที่ 87 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล รีวิว: พลังงานสร้างผลตอบแทนดีที่สุด รองลงมาคือปศุสัตว์ ● การลดจำนวนโควต้าการผลิตของ OPEC+ ทำให้ราคาน้ำมันสูงขึ้น ● เราเห็นการฟื้นตัวของราคาปศุสัตว์ เช่นกัน รีวิว: ทองคำปรับตัวลงในปี 2022 โดยปรับตัวลง 2.3% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 25% ในทองคำ ● ราคาทองคำอยู่ที่ 1,633 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อออนซ์ ● การฟื้นตัวของหุ้น ทำให้ราคาสินทรัพย์ปลอดภัย เช่น ทองคำ ถูกกดดัน รีวิว: ความอ่อนแอของผลตอบแทนจากการลงทุนในทองคำมีส่วนสำคัญจากการแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ● เสมือนว่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นคู่แลกเปลี่ยน โดยการแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำให้ราคาทองคำต่ำลงในรูปเหรียญสหรัฐฯ ● และหมายความว่า ผลตอบแทนของทองคำ ขึ้นอยู่กับเงินสกุลท้องถิ่นต่าง ๆ ด้วย รีวิว: มีเพียงเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และสวิสฟรังก์เท่านั้น ที่แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับราคาทองคำในปี 2022 ● ในเดือนตุลาคม เงินเยน และเงินหยวนสามารถซื้อทองคำได้น้อยลง (ค่าเงินอ่อนเมื่อเทียบกับทองคำ) ● ขณะที่เงินสกุลอื่น ๆ แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับทองคำ ● เงินเหรียญสหรัฐฯ 3 เดือนที่ผ่านมา แข็งค่าขึ้นกว่าเดิม 4.1% เมื่อเทียบกับทองคำ โดยแข็งกว่าปีก่อนหน้า 4.0% ● เงินปอนด์อังกฤษ 3 เดือนที่ผ่านมา แข็งค่าขึ้น 2.7% เมื่อเทียบกับทองคำ โดยแข็งกว่าปีก่อน 2.6% รีวิว: AWS ปรับตัวขึ้น 0.8% ในเดือนตุลาคม และทำผลงานเหนือกว่าพอร์ต 60/40 เมื่อนับตั้งแต่ก่อตั้ง ● ตั้งแต่ตั้งพอร์ต AWS ให้ผลตอบแทนสูงกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 4.8% ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2022 เดือนตุลาคม 2022: AWS สร้างผลตอบแทนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 2.7% ● รีวิวผลตอบแทนของสินทรัพย์ต่าง ๆ ที่เราให้น้ำหนัก 25% ● สินค้าโภคภัณฑ์: ทำผลงานได้ดี แต่ต่ำกว่าหุ้น ● พันธบัตร: ผลงานทรงตัว ● ทองคำ: สร้างผลตอบแทนเป็นลบ เพราะนักลงทุนชอบความเสี่ยงมากขึ้น รีวิว: AWS สร้างผลตอบแทนได้ดี ● AWS ให้ผลตอบแทนสูงกว่าพอร์ต 60/40 ในช่วงเวลาส่วนใหญ่ ● ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมาถือเป็นช่วงเวลาที่ท้าทาย รีวิว: AWS มีความผันผวนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 ● สัดส่วนการลงทุนในหุ้น 25-65% ช่วยลดความผันผวน ● ทองคำช่วยลดความผันผวนโดยรวมของพอร์ต เนื่องจากเป็นสินทรัพย์ที่ไม่มีความสัมพันธ์กับหุ้น รีวิว: AWS ขาดทุนน้อยกว่าพอร์ตการลงทุนดั้งเดิมแบบ 60/40 9 ครั้งจาก 10 ครั้งในช่วงที่ตลาดหุ้นปรับตัวลงมากที่สุด ● จุดเด่นสำคัญของ AWS คือ การจำกัดการขาดทุนเมื่อตลาดหุ้นโลกปรับตัวลง ● นับตั้งแต่จัดตั้ง AWS ขาดทุนน้อยกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 9 วันถ้านับจากใน 10 วันที่หุ้นโลกทำผลงานได้ย่ำแย่ที่สุด รีวิว: AWS ทำผลงานแย่กว่าพอร์ตการลงทุนดั้งเดิมแบบ 60/40 ในเดือนตุลาคม แต่ยังทำผลงานเหนือกว่าพอร์ต 60/40 ใน 59% ของเดือนทั้งหมด ● AWS สามารถสร้างผลตอบแทนเหนือกว่าพอร์ต 60/40 ใน 26 เดือนจาก 44 เดือน สรุป FVMR แต่ละภูมิภาค ● พื้นฐาน (Fundamentals): หุ้นสหรัฐฯ มีผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ROE (Return on Equity) สูงที่สุด ● มูลค่า (Valuation): หุ้นตลาดเกิดใหม่ และหุ้นยุโรปพัฒนาแล้วมี PE (Price-to-Earnings) ต่ำที่สุด และหุ้นญี่ปุ่นมี PB (Price-to-Book) ต่ำที่สุด ● แนวโน้ม (Momentum): หุ้นญี่ปุ่นสร้างผลตอบแทนได้ดีที่สุดในปีที่ผ่านมา ● ความเสี่ยง (Risk): หุ้นเอเชียแปซิฟิก และหุ้นญี่ปุ่น มีอัตราหนี้สินต่อทุน (Gearing) ต่ำที่สุด น้ำหนัก: เราให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้น 25% โดยแบ่งเป็น 5% ในแต่ละภูมิภาค ● เราไม่ได้เปลี่ยนน้ำหนักการลงทุน มุมมอง: ราคาน้ำมันเริ่มปรับตัวลงมา แต่เงินเฟ้อยังคงสูง ● น้ำมันเป็นแหล่งพลังงานหลักสำหรับการเกษตร การผลิต และการคมนาคม ● ราคาน้ำมันที่ปรับตัวลงมาอาจช่วยชะลออัตราเงินเฟ้อ หรือทำให้อัตราเงินเฟ้อลดลงได้ ● อย่างไรก็ดี เรากลับพบว่า อัตราเงินเฟ้อยังคงสูงขึ้น มุมมอง: อัตราเงินเฟ้อปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่อง ● ราคาสินค้าและบริการที่แพงขึ้น เมื่อถึงจุดหนึ่งจะทำให้ความต้องการลดลง ● ฐานเงินเฟ้อที่สูงขึ้น จะแสดงระดับอัตราเงินเฟ้อที่ลดลง ● ดังนั้น เงินเฟ้ออาจเข้าใกล้จุดสูงสุดแล้ว แม้ว่าธนาคารกลางยังไม่ได้เข้าแทรกแซง ผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล 3 เดือนปรับตัวสูงขึ้นเป็น 3.8% จาก 1.4% ในปีที่ผ่านมา ● อย่างไรก็ดี อัตราเงินเฟ้อปรับตัวสูงขึ้นเร็วกว่าผลตอบแทนพันธบัตร ● เราคาดหวังว่าธนาคารกลางจะยังคงขึ้นดอกเบี้ยต่อ เพราะดูเหมือนว่ายังชะลอเงินเฟ้อไม่ได้ มุมมอง: ประธาน FED ตั้งมั่นที่จะหยุดยั้งเงินเฟ้อ ● ประธาน FED ยืนยันว่าความเดือดร้อนเป็นสิ่งที่จะเกิดขึ้น เพื่อให้เงินเฟ้อชะลอตัวลง ● “ข้อมูลจากการประชุมครั้งที่ผ่านมาแสดงให้เห็นว่าเป้าหมายดอกเบี้ยนโยบายอาจจะสูงกว่าที่คาดการณ์ไว้แต่แรก” ● FED จะพิจารณาผลลัพธ์จากการขึ้นดอกเบี้ยติดต่อกันหลายครั้ง ● หลายคนคาดว่าคำพูดของประธาน FED ส่งสัญญาณว่า FED กำลังจะลดขนาดการขึ้นดอกเบี้ย มุมมอง: ตลาดมองว่าเงินเฟ้อจะเข้าสู่ภาวะปกติ ● อัตราเงินเฟ้อคาดการณ์สหรัฐฯ 10 ปี อยู่ที่ 2.5% ส่งสัญญาณว่าตลาดคาดว่า FED จะควบคุมเงินเฟ้อได้ ● ถ้าการคาดการณ์เงินเฟ้อต่ำกว่าความจริง จะทำให้ราคาหุ้น สินค้าโภคภัณฑ์ และทองคำปรับตัวขึ้น มุมมอง: ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) ดูเหมือนว่าจะสูงที่สุดแล้ว ● ถ้าราคาน้ำมันไม่ปรับตัวขึ้นอย่างมีนัยสำคัญแล้ว เราคาดว่า CPI น่าจะผ่านจุดที่สูงที่สุดแล้ว ● แต่ว่าราคาน้ำมันที่อยู่ในระดับสูง น่าจะทำให้ราคาอาหารและสินค้าอื่น ๆ ทรงตัวในระดับสูง ทำให้ไม่น่าจะเห็นการปรับตัวลงของ CPI อย่างรวดเร็วภายใน 2-3 เดือนหน้า มุมมอง: การขึ้นดอกเบี้ยในเดือนธันวาคมได้ถูกตลาดคาดการณ์ไว้แล้ว (priced in) ● ตลาดมั่นใจ 100% ว่า FED จะขึ้นดอกเบี้ยในการประชุมครั้งถัดไป ● โดยเชื่อมั่น 61.5% ว่าจะมีการขึ้นดอกเบี้ย 0.5% เข้าสู่ระดับ 4.25-4.50% มุมมอง: การขึ้นดอกเบี้ยครั้งนี้เป็นการปรับขึ้นที่เร็วที่สุดตั้งแต่ช่วง 1980 ● ในการขึ้นดอกเบี้ยปี 2004 ดอกเบี้ยนโยบายปรับขึ้นรวม 4.25% ● ในการขึ้นดอกเบี้ยครั้งนี้ ดอกเบี้ยปรับขึ้นแล้ว 3.75% ● ตลาดคาดว่าดอกเบี้ยจะเข้าสู่ระดับ 4.25% ในเดือนธันวาคม 2022 และปรับเพิ่มขึ้นอีกในเดือนกุมภาพันธ์ 2023 มุมมอง: ดอกเบี้ยไม่เคยขึ้นสู่ระดับ 3% ด้วยความเร็วขนาดนี้ ตั้งแต่ช่วง 1950 มุมมอง: ตั้งแต่เดือนมีนาคม ตลาดคาดว่า FED จะดำเนินนโยบายเข้มงวดมากขึ้น ● ตลาดเชื่อว่าดอกเบี้ยนโยบายจะสูงสุดในเดือนมิถุนายน 2023 ● FED กำลังสู้กับเงินเฟ้ออย่างเข้มข้น แม้ว่าจะต้องเสี่ยงกับเภาวะศรษฐกิจถดถอย มุมมอง: ตลาดมองว่า FED เข้มงวดด้านนโยบายการเงินมากที่สุด ● ดอกเบี้ยนโยบายที่ต่ำกว่าของธนาคารกลางยุโรป (ECB) และธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) ทำให้เชื่อว่าเงินยูโร และเงินเยนจะอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐฯ มุมมอง: การกลับทิศของกราฟอัตราส่วนผลตอบแทนพันธบัตร (inverted yield-curve) รุนแรงขึ้น ● ตั้งแต่ปี 1970 inverted yield-curve จะเกิดขึ้นก่อนภาวะเศรษฐกิจถดถอย ● หลังจากเกิด inverted yield curve จะเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยโดยเฉลี่ยภายใน 1 ปี (ประมาณกลางปี 2023) มุมมอง: จับตาดูความแตกต่างระหว่างผลตอบแทนพันธบัตร (yield spread) ● อัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่แตกต่างกันมากขึ้น แสดงให้เห็นว่านักลงทุนต้องการผลตอบแทนที่มากขึ้น ให้คุ้มค่ากับความเสี่ยง ● สหภาพยุโรปมี yield spread ใกล้เคียงกับในช่วง COVID แล้ว แต่ yield spread ในสหรัฐฯ ยังต่ำกว่า และปรับตัวต่ำลงเรื่อย ๆ มุมมอง: หุ้นถูกประเมินมูลค่าต่ำลงมา โดยมาจากราคาที่ต่ำลงเป็นสำคัญ ● มูลค่าหุ้นโลกที่ถูกประเมินไว้ปรับตัวต่ำลงมากว่าค่าเฉลี่ยในอดีตเล็กน้อย ● แม้ว่าอัตราการทำกำไรจะต่ำกว่าเดิม แต่ว่ายังไม่มีการปรับประมาณการลงอย่างมีนัยสำคัญ มุมมอง: ความเห็นตลาดยังมองว่ากำไรของบริษัทจะเพิ่มขึ้น ● เป็นสิ่งที่ดี ● นักวิเคราะห์เชื่อว่ากำไรของบริษัทจะเติบโต 7% ในปีหน้า และจะเติบโตมากขึ้นเป็นลำดับ มุมมอง: ความเห็นตลาดยังมองว่ากำไรของบริษัทจะเพิ่มขึ้น ● เป็นสิ่งที่ดี ● นักวิเคราะห์เชื่อว่ากำไรของบริษัทจะเติบโต 7% ในปีหน้า และจะเติบโตมากขึ้นเป็นลำดับ มุมมอง: สำหรับภูมิภาคอื่น ๆ คาดว่าอัตราการทำกำไรจะลดลงต่อเนื่อง 2 ปี ● แม้ว่าจะมีความเสี่ยงเศรษฐกิจถดถอย แต่ว่ายังมีการเติบโตของกำไร (การเติบโตไม่ติดลบ) ● นักวิเคราะห์ค่อนข้างกังวลกับบริษัทในสหรัฐฯ ทั้งนี้ นักลงทุนมักจะมองโลกในแง่ดีกว่าความเป็นจริง และไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงของตลาดทันท่วงที รีวิว: ECB อาจจะชะลอการขึ้นดอกเบี้ย ● เงินเฟ้อปรับตัวสูงที่สุดอีกครั้งในเดือนตุลาคม ที่ระดับ 10.7% ● หลังจากการขึ้นดอกเบี้ย 0.75% ในเดือนตุลาคม ECB ส่งสัญญาณว่าจะลดอัตราการขึ้นดอกเบี้ยลงในเดือนธันวาคม ● อย่างไรก็ดี ถ้า FED ยังขึ้นดอกเบี้ยต่อเนื่อง แต่ ECB ลดอัตราการขึ้นดอกเบี้ยลง ค่าเงินยูโรอาจอ่อนตัวลงอีก ทำให้เกิดภาวะขาดดุลทางการค้า มุมมอง: ยังไม่มีการดำเนินนโยบายการเงินแบบตึงตัว (QT) เท่าไรนัก ● ธนาคารกลางเริ่มให้พันธบัตรหมดอายุ ทำให้งบดุลไม่โตขึ้นแล้ว ● งบดุลของ BOJ โตขึ้นเล็กน้อยในเดือนตุลาคม มุมมอง: เราเชื่อว่าธนาคารกลางจะกลับทิศนโยบายในอนาคต ● ธนาคารกลางสื่อสารว่าจะควบคุมให้เงินเฟ้อลดลง และนักลงทุนดูเหมือนว่าจะเชื่อเช่นนั้น ● เราเชื่อว่าธนาคารกลาง และนักการเมืองพร้อมที่จะเปลี่ยนนโยบาย หากมีความเสียหายเกิดขึ้นกับเศรษฐกิจ ● และเราเชื่อว่าธนาคารกลางกำลังจะทำให้เกิดความเสียหายกับเศรษฐกิจ มุมมอง: stagflation จะเป็นสิ่งเลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้น ● ถ้าธนาคารกลางชะลอการเติบโตของเศรษฐกิจ แต่ไม่สามารถหยุดเงินเฟ้อได้ จะเกิดภาวะ stagflation ● ภาวะ stagflation ส่งผลเสียต่อหุ้นและพันธบัตร ● สินค้าโภคภัณฑ์มักสร้างผลตอบแทนได้ดีในช่วงเงินเฟ้อ และทองคำมักสร้างผลตอบแทนได้ดีในช่วง stagflation ● เนื่องจากยังมีความไม่แน่นอนสูง เราจำกัดการลงทุนในหุ้น มุมมอง: ตลาดหุ้นสหรัฐฯ มีบทบาทมากต่อตลาดการเงินโลก ● เงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นเหมือนสินทรัพย์ปลอดภัย ซึ่งการขึ้นดอกเบี้ยและการทำ QT จะทำให้ค่าเงินดอลลาร์แข็งขึ้นอีก ● เราเชื่อว่าตลาดหุ้นสหรัฐฯ มีความยืดหยุ่นต่อความเสี่ยงได้ดีกว่าตลาดหุ้นอื่น ● เรายังให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้นในแต่ละภูมิภาคอย่างน้อย 5% เนื่องจากเราเชื่อว่าตลาดหุ้นยังอ่อนแอ มุมมอง: ECB ก็ต้องสู้กับเงินเฟ้อเช่นกัน ● ราคาพลังงานที่สูงขึ้นจะกดดันการบริโภค และการผลิต ● เราคงน้ำหนัก 5% ในการลงทุนในตลาดหุ้นยุโรปกลุ่มพัฒนาแล้ว มุมมอง: การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ส่งผลลบต่อตลาดเกิดใหม่ ● การขึ้นดอกเบี้ยของ FED น่าจะทำให้เงินเหรียญสหรัฐฯ แข็งค่า สภาพคล่องในระบบลดลง และทำให้ตลาดเกิดใหม่ได้รับผลกระทบเชิงลบได้ ● เงินเหรียญสหรัฐฯ ถือเป็นสินทรัพย์ปลอดภัย (safe haven) ซึ่งนักลงทุนอาจใช้พักเงินในช่วงที่สถานการณ์โลกมีความไม่แน่นอนสูง มุมมอง: การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และเศรษฐกิจจีนยังเป็นข้อกังวล ● การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำให้การชำระหนี้ที่เป็นเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำได้ยากขึ้น เนื่องจากจะต้องใช้เงินสกุลท้องถิ่นมาแลกมากขึ้น ● เรายังไม่เชื่อมั่นว่าเศรษฐกิจจีนจะฟื้นตัว ● ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ได้ครองอำนาจอีกครั้ง และการควบคุมเงินเฟ้อของรัฐบาลอาจกดดันภาคเศรษฐกิจและรายได้ของบริษัท ตลอดจนนโยบายโควิดเป็นศูนย์ (zero-covid policy) ยังไม่ได้ถูกยกเลิก มุมมอง: หุ้นจีนยังคงกดดันผลตอบแทนหุ้นตลาดเกิดใหม่ และตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่น ● หุ้นจีนน่าจะยังคงกดดันผลตอบแทนหุ้นตลาดเกิดใหม่ และตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่นต่อไป ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นตลาดเกิดใหม่ และ 5% ในหุ้นตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่น มุมมอง: เงินเยนน่าจะอ่อนค่าต่อไป ● BOJ ยังคงดอกเบี้ยนโยบายที่ระดับต่ำ และคาดหวังว่าอัตราเงินเฟ้อจะเพิ่มสูงขึ้น ● เราให้น้ำหนัก 5% ในตลาดหุ้นญี่ปุ่น มุมมอง: เราให้น้ำหนัก 25% ในพันธบัตร ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนน้ำหนักในการลงทุน มุมมอง: พันธบัตรยังเป็นการลงทุนที่ปลอดภัย แม้ว่าในปี 2022 จะให้ผลตอบแทนที่ค่อนข้างแย่ ● ในช่วงเศรษฐกิจถดถอย การลงทุนในสินทรัพย์ปลอดภัย เช่น พันธบัตรรัฐบาล มักให้ผลตอบแทนดี ● อย่างไรก็ดี ในช่วงที่เงินเฟ้อสูง อัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่ต่ำ อาจทำให้อัตราผลตอบแทนที่แท้จริง (real return) ติดลบ ● เราไม่ได้ใช้พันธบัตรในการเก็งกำไร เพื่อสร้างผลตอบแทน แต่เรามองว่าพันธบัตรสามารถป้องกันความเสี่ยงได้ดี มุมมอง: เราให้น้ำหนักสินค้าโภคภัณฑ์ที่ 25% ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนน้ำหนักในการลงทุน มุมมอง: แม้ว่าราคาก๊าซธรรมชาติจะกลับมาอยู่ในระดับเดียวกันเดือนมิถุนายน 2021 แต่ราคาน้ำมันยังคงสูง ● ราคาก๊าซธรรมชาติในยุโรปกลับเข้าสู่ระดับปกติ เนื่องจากมีสำรองเพียงพอ และสภาพภูมิอากาศไม่รุนแรงนัก มุมมอง: ตลาดเชื่อว่าราคาก๊าซธรรมชาติจะกลับมาแพงขึ้น ● การพึ่งพิงพลังงานจากรัสเซียจะส่งผลกระทบต่อตลาดพลังงานในยุโรป ● ถ้าอากาศหนาวเย็นลง ปริมาณก๊าซสำรองอาจลดลงอย่างรวดเร็ว ทำให้ราคาปรับตัวขึ้น มุมมอง: ปัจจัยพื้นฐานยังสนับสนุนราคาน้ำมัน ● กลุ่ม OPEC+ ผลิตได้ไม่เป็นไปตามเป้า และมีการลดกำลังการผลิต ทำให้ราคาน้ำมันน่าจะอยู่ในระดับสูงต่อไป ● สงครามในยูเครนน่าจะก่อให้เกิดปัญหาด้านอุปทานต่ออีกระยะหนึ่ง ● ราคาพลังงานน่าจะอยู่ในระดับสูงต่อไป จากการลงทุนที่ไม่เพียงพอในโครงการใหม่ ๆ มุมมอง: อุปทานสำหรับสินค้าทางการเกษตรอาจตึงตัวมากขึ้นอีก ● นอกจากพลังงานแล้ว รัสเซียยังเป็นผู้ส่งออกโลหะอุตสาหกรรมหลายชนิด รวมถึงรัสเซีย และยูเครนยังเป็นผู้ส่งออกสำคัญของสินค้าทางการเกษตร ● ลานีญ่า (La Nina) อาจทำให้อุปทานสินค้าเกษตร เช่น ข้าวโพด ถั่วเหลือง และแป้ง ลดลง ซึ่งลานีญ่านี้เองทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไป เกิดพายุรุนแรง และความแห้งแล้ง ซึ่งผลกระทบอาจแตกต่างกันตามภูมิภาค มุมมอง: ราคาพลังงานที่สูงขึ้น ส่งผลต่อราคาอาหาร แต่ราคาธัญพืชฟื้นตัวได้เล็กน้อยในเดือนกันยายน ● ก๊าซธรรมชาติใช้ในการทำปุ๋ย และราคาที่เพิ่มขึ้นของปุ๋ยทำให้เมล็ดพันธุ์ต้องปรับราคาขึ้นตามไปด้วย ● เมื่อราคาก๊าซธรรมชาติต่ำลง บริษัทผลิตปุ๋ยอาจกลับมาผลิตปุ๋ยอีกครั้ง ● ข้าวโพดถูกใช้เป็นอาหารของสัตว์ ซึ่งราคาข้าวโพดที่แพงขึ้นทำให้ราคาเนื้อสัตว์ปรับขึ้นตาม มุมมอง: ดัชนีราคาอาหารโลกปรับขึ้นสูงที่สุดในเดือนมีนาคม 2022 ที่ 160 และปัจจุบันอยู่ที่ 136 ในเดือนกันยายน 2022 ● การห้ามการส่งออกอาหารของบางประเทศทำให้เกิดการขาดแคลนอาหารและทำให้ราคาอาหารสูงขึ้น ● ราคาน้ำมันพืชและธัญพืชที่ปรับตัวลงทำให้ดัชนีราคาอาหารปรับตัวลง ● ราคาเนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์จากนมอยู่ในระดับเดียวกับเดือนมีนาคม 2022 มุมมอง: ราคาสินค้าโภคภัณฑ์น่าจะยังปรับขึ้นต่อได้ ● การฟื้นตัวของความต้องการ (อาหารและพลังงาน) ภาวะเงินเฟ้อ และปัญหาห่วงโซ่อุปทาน ทั้งที่เกี่ยวและไม่เกี่ยวกับสงครามจะผลักดันให้สินค้าโภคภัณฑ์ปรับตัวสูงขึ้น ● การเปิดเมืองอีกครั้งของจีนจะทำให้ความต้องการสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● ถ้าเกิดภาวะ stagflation คาดว่าสินค้าโภคภัณฑ์จะสร้างผลตอบแทนได้ดี มุมมอง: เราให้น้ำหนักทองคำที่ 25% ● เราไม่ได้เปลี่ยนแปลงน้ำหนักการลงทุน มุมมอง: ทองคำจะเป็นเหมือนหลักประกันป้องกันความเสี่ยง ● สงครามในยูเครนทำให้เกิดความไม่แน่นอน ผลักดันความคาดหวังอัตราเงินเฟ้อ ทำให้สินทรัพย์ปลอดภัย เช่น ทองคำ ได้รับความสนใจมากขึ้น ● อย่างไรก็ดี ความคาดหวังการขึ้นดอกเบี้ย อาจกดดันราคาทองคำ ● โดยทั่วไป ทองคำจะช่วยป้องกันความเสี่ยงในช่วงตลาดขาลงได้ ความเสี่ยง: เงินเฟ้อถูกควบคุมได้อย่างรวดเร็ว ● ถ้าธนาคารกลางสร้างความแปลกใจให้กับตลาดด้วยการขึ้นดอกเบี้ยเร็วและแรง พร้อมกับการดึงสภาพคล่องออกจากตลาด อาจจะทำให้ตลาดหุ้นปรับตัวลงอย่างรุนแรง ● เราไม่ได้ให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้นมาก หากธนาคารกลางปรับเปลี่ยนนโยบาย และหุ้นปรับตัวสูงขึ้น อาจทำให้เราเสียโอกาสบ้าง ● เศรษฐกิจจีนที่อ่อนแออาจลดความต้องการของสินค้าโภคภัณฑ์ กดดันทำให้ราคาต่ำลงได้ ● ราคาสินค้าโภคภัณฑ์อื่นอาจปรับตัวลงพร้อมกับราคาพลังงาน เนื่องจากพลังงานเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิต ข้อสรุปที่สำคัญ ● AWS สร้างผลตอบแทนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 2.7% ในเดือนตุลาคม 2022 ● ธนาคารกลางกำลังขึ้นดอกเบี้ยในช่วงที่เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอย เพื่อชะลออัตราเงินเฟ้อ โดย stagflation เป็นสิ่งที่เลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้นได้ ● ความต้องการสินค้าจำเป็น (อาหารและพลังงาน) ภาวะเงินเฟ้อ และปัญหาห่วงโซ่อุปทานจะทำใหราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● พันธบัตรและทองคำใช้ในการลดความเสี่ยง ● ความเสี่ยง: เงินเฟ้อควบคุมได้ นโยบายการเงินทำให้ตลาดหุ้นปรับลงอย่างรุนแรง และเศรษฐกิจจีนที่อ่อนแอ

อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยมักจะตามมาด้วยราคาบ้านที่ลดลง

อัปเดต: หุ้นกู้เอกชนทำผลงานได้แย่ในปีนี้ อัปเดต: หุ้นกู้เอกชนทำผลงานได้แย่ในปีนี้ อัปเดต: พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษให้ผลตอบแทนแย่อย่างมีนัยสำคัญในช่วงปีที่ผ่านมา อัปเดต: พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษให้ผลตอบแทนแย่อย่างมีนัยสำคัญในช่วงปีที่ผ่านมา กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (REIT) ก็ไม่สามารถป้องกันความเสี่ยงจากอัตราเงินเฟ้อได้ อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยของสหรัฐฯ ทำให้ค่าผ่อนบ้านสูงขึ้นมาก อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยมักจะตามมาด้วยราคาบ้านที่ลดลง อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยมักจะตามมาด้วยราคาบ้านที่ลดลง อัปเดต: เงินเหรียญสหรัฐฯ มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น อัปเดต: เงินเหรียญสหรัฐฯ มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น ● เงินเหรียญสหรัฐฯ ถูกใช้ในธุรกรรมทางการเงินกว่า 40% ของธุรกรรมทั้งหมด อัปเดต: เงินยูโรอ่อนค่าลงมากเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐฯ อัปเดต: ค่าเงินยูโรที่อ่อนค่าทำให้ดุลการค้าของเยอรมนีลดลงอย่างมีนัยสำคัญ อัปเดต: เงินเยนอ่อนตัวเนื่องจากธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) เข้าแทรกแซง อัปเดต: สหรัฐฯ และจีนยังคงมีความขัดแย้งเรื่องเทคโนโลยีเซมิคอนดักเตอร์ อัปเดต: จีนขยายอิทธิพลในห่วงโซ่การค้าโลก อัปเดต: จีนขยายอิทธิพลในห่วงโซ่การค้าโลก อัปเดต: ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ครองอำนาจต่ออีกครั้ง ● อดีตประธานาธิบดี หู จิ่นเทา ถูกพาตัวออกจากการประชุมพรรคคอมมิวนิสต์จีน ในวันที่ 22 ตุลาคม 2022 อัปเดต: การขาดแคลนอุปทานในเชิงโครงสร้างเป็นผลดีต่อราคาสินค้าโภคภัณฑ์ อัปเดต: OPEC+ ลดโควตาการผลิตน้ำมัน ซึ่งน่าจะทำให้อุปทานน้ำมันโลกลดลง อัปเดต: ประธานาธิบดี โจ ไบเดน ต้องการที่จะเพิ่มภาษีให้กับบริษัทผู้ผลิตพลังงาน ซึ่งจะลดแรงจูงใจในการลงทุน อัปเดต: เราอาจเห็นการรวมกลุ่มกันของกลุ่มผู้ผลิตสินแร่ที่ต้องใช้ในแบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้า คล้ายกับการรวมกลุ่มกันของ OPEC อัปเดต: ธนาคารกลางเริ่มเก็บสะสมทองคำมากขึ้น ข้อสรุปที่สำคัญ ● พันธบัตรทำผลงานได้ไม่ดีในปีนี้ ● เงินดอลลาร์สหรัฐฯ แข็งค่าขึ้นมาก และยังคงเป็นสกุลเงินสำรองหลักของโลก การแข็งค่าของเงินดอลลาร์กดดันเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ● ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ครองอำนาจต่อ ● ปัญหาการขาดแคลนอุปทานจะช่วยให้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● ธนาคารกลางเริ่มเก็บสะสมทองคำ รีวิว: เราให้น้ำหนักการลงทุน 25% ในแต่ละสินทรัพย์ ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักในครั้งนี้ รีวิว: หุ้นโลกปรับตัวลงในปี 2022 แต่ปรับตัวขึ้น 5.9% ในเดือนตุลาคม ● หุ้นโลกปรับตัวขึ้น 19.0% ในปี 2021 แต่ตั้งแต่ต้นปี 2022 ปรับตัวลง 20.8% ● ตลาดปรับตัวขึ้น เพราะความหวังว่าธนาคารกลางจะกลับทิศนโยบาย รีวิว: หุ้นสหรัฐฯ ทำผลงานได้ดีที่สุดเป็นอันดับ 2 ในเดือนตุลาคม โดยปรับขึ้น 8.3% ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นสหรัฐฯ ● การคาดการณ์ว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) จะผ่อนคลายท่าทีลง และ GDP ที่ขยายตัวมากกว่าที่ประมาณการไว้ทำให้หุ้นฟื้นตัวขึ้น รีวิว: หุ้นยุโรปทำผลงานได้ดีที่สุด โดยปรับตัวขึ้น 8.9% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นยุโรปกลุ่มพัฒนาแล้ว ● การฟื้นตัวของหุ้นยุโรปก็มาจากความคาดหวังว่าธนาคารกลางจะชะลอความเร็วในการขึ้นดอกเบี้ยลง รีวิว: ตลาดเกิดใหม่ปรับตัวลง 3.3% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นตลาดเกิดใหม่ โดยทำผลงานได้แย่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ● การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ กดดันผลตอบแทนของตลาดเกิดใหม่ รีวิว: หุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น ปรับตัวลงมากที่สุดเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน โดยปรับตัวลง 4.8% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น ● การปรับตัวลงของหุ้นจีน และไต้หวัน รวมถึงการแข็งค่าของดอลลาร์สหรัฐฯ กดดันผลตอบแทนของตลาดหุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น รีวิว: ตลาดญี่ปุ่นสร้างผลตอบแทนได้ดีเป็นอันดับ 3 ในเดือนตุลาคม โดยปรับตัวขึ้น 4.4% ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นญี่ปุ่น ● หุ้นญี่ปุ่นฟื้นตัวจากความคาดหวังของการผ่อนคลายท่าทีของ FED รีวิว: ตลาดตราสารหนี้ไทยทรงตัว ● เราให้น้ำหนัก 5% กับตราสารหนี้ไทย (แทนที่จะเป็นตราสารหนี้ต่างประเทศ) ซึ่งทรงตัวในช่วงที่ผ่านมา ● วัตถุประสงค์หลักของการลงทุนในตราสารหนี้ เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากตลาดขาลง รีวิว: ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ให้ผลตอบแทน 3.1% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 25% กับสินค้าโภคภัณฑ์ ● ราคาสินค้าโภคภัณฑ์เป็นขาขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่เดือนเมษายน 2020 รีวิว: น้ำมันดิบ WTI ฟื้นตัวเล็กน้อย โดยราคาปิด ณ สิ้นเดือนตุลาคม อยู่ที่ 87 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล รีวิว: พลังงานสร้างผลตอบแทนดีที่สุด รองลงมาคือปศุสัตว์ ● การลดจำนวนโควต้าการผลิตของ OPEC+ ทำให้ราคาน้ำมันสูงขึ้น ● เราเห็นการฟื้นตัวของราคาปศุสัตว์ เช่นกัน รีวิว: ทองคำปรับตัวลงในปี 2022 โดยปรับตัวลง 2.3% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 25% ในทองคำ ● ราคาทองคำอยู่ที่ 1,633 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อออนซ์ ● การฟื้นตัวของหุ้น ทำให้ราคาสินทรัพย์ปลอดภัย เช่น ทองคำ ถูกกดดัน รีวิว: ความอ่อนแอของผลตอบแทนจากการลงทุนในทองคำมีส่วนสำคัญจากการแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ● เสมือนว่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นคู่แลกเปลี่ยน โดยการแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำให้ราคาทองคำต่ำลงในรูปเหรียญสหรัฐฯ ● และหมายความว่า ผลตอบแทนของทองคำ ขึ้นอยู่กับเงินสกุลท้องถิ่นต่าง ๆ ด้วย รีวิว: มีเพียงเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และสวิสฟรังก์เท่านั้น ที่แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับราคาทองคำในปี 2022 ● ในเดือนตุลาคม เงินเยน และเงินหยวนสามารถซื้อทองคำได้น้อยลง (ค่าเงินอ่อนเมื่อเทียบกับทองคำ) ● ขณะที่เงินสกุลอื่น ๆ แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับทองคำ ● เงินเหรียญสหรัฐฯ 3 เดือนที่ผ่านมา แข็งค่าขึ้นกว่าเดิม 4.1% เมื่อเทียบกับทองคำ โดยแข็งกว่าปีก่อนหน้า 4.0% ● เงินปอนด์อังกฤษ 3 เดือนที่ผ่านมา แข็งค่าขึ้น 2.7% เมื่อเทียบกับทองคำ โดยแข็งกว่าปีก่อน 2.6% รีวิว: AWS ปรับตัวขึ้น 0.8% ในเดือนตุลาคม และทำผลงานเหนือกว่าพอร์ต 60/40 เมื่อนับตั้งแต่ก่อตั้ง ● ตั้งแต่ตั้งพอร์ต AWS ให้ผลตอบแทนสูงกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 4.8% ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2022 เดือนตุลาคม 2022: AWS สร้างผลตอบแทนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 2.7% ● รีวิวผลตอบแทนของสินทรัพย์ต่าง ๆ ที่เราให้น้ำหนัก 25% ● สินค้าโภคภัณฑ์: ทำผลงานได้ดี แต่ต่ำกว่าหุ้น ● พันธบัตร: ผลงานทรงตัว ● ทองคำ: สร้างผลตอบแทนเป็นลบ เพราะนักลงทุนชอบความเสี่ยงมากขึ้น รีวิว: AWS สร้างผลตอบแทนได้ดี ● AWS ให้ผลตอบแทนสูงกว่าพอร์ต 60/40 ในช่วงเวลาส่วนใหญ่ ● ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมาถือเป็นช่วงเวลาที่ท้าทาย รีวิว: AWS มีความผันผวนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 ● สัดส่วนการลงทุนในหุ้น 25-65% ช่วยลดความผันผวน ● ทองคำช่วยลดความผันผวนโดยรวมของพอร์ต เนื่องจากเป็นสินทรัพย์ที่ไม่มีความสัมพันธ์กับหุ้น รีวิว: AWS ขาดทุนน้อยกว่าพอร์ตการลงทุนดั้งเดิมแบบ 60/40 9 ครั้งจาก 10 ครั้งในช่วงที่ตลาดหุ้นปรับตัวลงมากที่สุด ● จุดเด่นสำคัญของ AWS คือ การจำกัดการขาดทุนเมื่อตลาดหุ้นโลกปรับตัวลง ● นับตั้งแต่จัดตั้ง AWS ขาดทุนน้อยกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 9 วันถ้านับจากใน 10 วันที่หุ้นโลกทำผลงานได้ย่ำแย่ที่สุด รีวิว: AWS ทำผลงานแย่กว่าพอร์ตการลงทุนดั้งเดิมแบบ 60/40 ในเดือนตุลาคม แต่ยังทำผลงานเหนือกว่าพอร์ต 60/40 ใน 59% ของเดือนทั้งหมด ● AWS สามารถสร้างผลตอบแทนเหนือกว่าพอร์ต 60/40 ใน 26 เดือนจาก 44 เดือน สรุป FVMR แต่ละภูมิภาค ● พื้นฐาน (Fundamentals): หุ้นสหรัฐฯ มีผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ROE (Return on Equity) สูงที่สุด ● มูลค่า (Valuation): หุ้นตลาดเกิดใหม่ และหุ้นยุโรปพัฒนาแล้วมี PE (Price-to-Earnings) ต่ำที่สุด และหุ้นญี่ปุ่นมี PB (Price-to-Book) ต่ำที่สุด ● แนวโน้ม (Momentum): หุ้นญี่ปุ่นสร้างผลตอบแทนได้ดีที่สุดในปีที่ผ่านมา ● ความเสี่ยง (Risk): หุ้นเอเชียแปซิฟิก และหุ้นญี่ปุ่น มีอัตราหนี้สินต่อทุน (Gearing) ต่ำที่สุด น้ำหนัก: เราให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้น 25% โดยแบ่งเป็น 5% ในแต่ละภูมิภาค ● เราไม่ได้เปลี่ยนน้ำหนักการลงทุน มุมมอง: ราคาน้ำมันเริ่มปรับตัวลงมา แต่เงินเฟ้อยังคงสูง ● น้ำมันเป็นแหล่งพลังงานหลักสำหรับการเกษตร การผลิต และการคมนาคม ● ราคาน้ำมันที่ปรับตัวลงมาอาจช่วยชะลออัตราเงินเฟ้อ หรือทำให้อัตราเงินเฟ้อลดลงได้ ● อย่างไรก็ดี เรากลับพบว่า อัตราเงินเฟ้อยังคงสูงขึ้น มุมมอง: อัตราเงินเฟ้อปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่อง ● ราคาสินค้าและบริการที่แพงขึ้น เมื่อถึงจุดหนึ่งจะทำให้ความต้องการลดลง ● ฐานเงินเฟ้อที่สูงขึ้น จะแสดงระดับอัตราเงินเฟ้อที่ลดลง ● ดังนั้น เงินเฟ้ออาจเข้าใกล้จุดสูงสุดแล้ว แม้ว่าธนาคารกลางยังไม่ได้เข้าแทรกแซง ผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล 3 เดือนปรับตัวสูงขึ้นเป็น 3.8% จาก 1.4% ในปีที่ผ่านมา ● อย่างไรก็ดี อัตราเงินเฟ้อปรับตัวสูงขึ้นเร็วกว่าผลตอบแทนพันธบัตร ● เราคาดหวังว่าธนาคารกลางจะยังคงขึ้นดอกเบี้ยต่อ เพราะดูเหมือนว่ายังชะลอเงินเฟ้อไม่ได้ มุมมอง: ประธาน FED ตั้งมั่นที่จะหยุดยั้งเงินเฟ้อ ● ประธาน FED ยืนยันว่าความเดือดร้อนเป็นสิ่งที่จะเกิดขึ้น เพื่อให้เงินเฟ้อชะลอตัวลง ● “ข้อมูลจากการประชุมครั้งที่ผ่านมาแสดงให้เห็นว่าเป้าหมายดอกเบี้ยนโยบายอาจจะสูงกว่าที่คาดการณ์ไว้แต่แรก” ● FED จะพิจารณาผลลัพธ์จากการขึ้นดอกเบี้ยติดต่อกันหลายครั้ง ● หลายคนคาดว่าคำพูดของประธาน FED ส่งสัญญาณว่า FED กำลังจะลดขนาดการขึ้นดอกเบี้ย มุมมอง: ตลาดมองว่าเงินเฟ้อจะเข้าสู่ภาวะปกติ ● อัตราเงินเฟ้อคาดการณ์สหรัฐฯ 10 ปี อยู่ที่ 2.5% ส่งสัญญาณว่าตลาดคาดว่า FED จะควบคุมเงินเฟ้อได้ ● ถ้าการคาดการณ์เงินเฟ้อต่ำกว่าความจริง จะทำให้ราคาหุ้น สินค้าโภคภัณฑ์ และทองคำปรับตัวขึ้น มุมมอง: ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) ดูเหมือนว่าจะสูงที่สุดแล้ว ● ถ้าราคาน้ำมันไม่ปรับตัวขึ้นอย่างมีนัยสำคัญแล้ว เราคาดว่า CPI น่าจะผ่านจุดที่สูงที่สุดแล้ว ● แต่ว่าราคาน้ำมันที่อยู่ในระดับสูง น่าจะทำให้ราคาอาหารและสินค้าอื่น ๆ ทรงตัวในระดับสูง ทำให้ไม่น่าจะเห็นการปรับตัวลงของ CPI อย่างรวดเร็วภายใน 2-3 เดือนหน้า มุมมอง: การขึ้นดอกเบี้ยในเดือนธันวาคมได้ถูกตลาดคาดการณ์ไว้แล้ว (priced in) ● ตลาดมั่นใจ 100% ว่า FED จะขึ้นดอกเบี้ยในการประชุมครั้งถัดไป ● โดยเชื่อมั่น 61.5% ว่าจะมีการขึ้นดอกเบี้ย 0.5% เข้าสู่ระดับ 4.25-4.50% มุมมอง: การขึ้นดอกเบี้ยครั้งนี้เป็นการปรับขึ้นที่เร็วที่สุดตั้งแต่ช่วง 1980 ● ในการขึ้นดอกเบี้ยปี 2004 ดอกเบี้ยนโยบายปรับขึ้นรวม 4.25% ● ในการขึ้นดอกเบี้ยครั้งนี้ ดอกเบี้ยปรับขึ้นแล้ว 3.75% ● ตลาดคาดว่าดอกเบี้ยจะเข้าสู่ระดับ 4.25% ในเดือนธันวาคม 2022 และปรับเพิ่มขึ้นอีกในเดือนกุมภาพันธ์ 2023 มุมมอง: ดอกเบี้ยไม่เคยขึ้นสู่ระดับ 3% ด้วยความเร็วขนาดนี้ ตั้งแต่ช่วง 1950 มุมมอง: ตั้งแต่เดือนมีนาคม ตลาดคาดว่า FED จะดำเนินนโยบายเข้มงวดมากขึ้น ● ตลาดเชื่อว่าดอกเบี้ยนโยบายจะสูงสุดในเดือนมิถุนายน 2023 ● FED กำลังสู้กับเงินเฟ้ออย่างเข้มข้น แม้ว่าจะต้องเสี่ยงกับเภาวะศรษฐกิจถดถอย มุมมอง: ตลาดมองว่า FED เข้มงวดด้านนโยบายการเงินมากที่สุด ● ดอกเบี้ยนโยบายที่ต่ำกว่าของธนาคารกลางยุโรป (ECB) และธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) ทำให้เชื่อว่าเงินยูโร และเงินเยนจะอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐฯ มุมมอง: การกลับทิศของกราฟอัตราส่วนผลตอบแทนพันธบัตร (inverted yield-curve) รุนแรงขึ้น ● ตั้งแต่ปี 1970 inverted yield-curve จะเกิดขึ้นก่อนภาวะเศรษฐกิจถดถอย ● หลังจากเกิด inverted yield curve จะเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยโดยเฉลี่ยภายใน 1 ปี (ประมาณกลางปี 2023) มุมมอง: จับตาดูความแตกต่างระหว่างผลตอบแทนพันธบัตร (yield spread) ● อัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่แตกต่างกันมากขึ้น แสดงให้เห็นว่านักลงทุนต้องการผลตอบแทนที่มากขึ้น ให้คุ้มค่ากับความเสี่ยง ● สหภาพยุโรปมี yield spread ใกล้เคียงกับในช่วง COVID แล้ว แต่ yield spread ในสหรัฐฯ ยังต่ำกว่า และปรับตัวต่ำลงเรื่อย ๆ มุมมอง: หุ้นถูกประเมินมูลค่าต่ำลงมา โดยมาจากราคาที่ต่ำลงเป็นสำคัญ ● มูลค่าหุ้นโลกที่ถูกประเมินไว้ปรับตัวต่ำลงมากว่าค่าเฉลี่ยในอดีตเล็กน้อย ● แม้ว่าอัตราการทำกำไรจะต่ำกว่าเดิม แต่ว่ายังไม่มีการปรับประมาณการลงอย่างมีนัยสำคัญ มุมมอง: ความเห็นตลาดยังมองว่ากำไรของบริษัทจะเพิ่มขึ้น ● เป็นสิ่งที่ดี ● นักวิเคราะห์เชื่อว่ากำไรของบริษัทจะเติบโต 7% ในปีหน้า และจะเติบโตมากขึ้นเป็นลำดับ มุมมอง: ความเห็นตลาดยังมองว่ากำไรของบริษัทจะเพิ่มขึ้น ● เป็นสิ่งที่ดี ● นักวิเคราะห์เชื่อว่ากำไรของบริษัทจะเติบโต 7% ในปีหน้า และจะเติบโตมากขึ้นเป็นลำดับ มุมมอง: สำหรับภูมิภาคอื่น ๆ คาดว่าอัตราการทำกำไรจะลดลงต่อเนื่อง 2 ปี ● แม้ว่าจะมีความเสี่ยงเศรษฐกิจถดถอย แต่ว่ายังมีการเติบโตของกำไร (การเติบโตไม่ติดลบ) ● นักวิเคราะห์ค่อนข้างกังวลกับบริษัทในสหรัฐฯ ทั้งนี้ นักลงทุนมักจะมองโลกในแง่ดีกว่าความเป็นจริง และไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงของตลาดทันท่วงที รีวิว: ECB อาจจะชะลอการขึ้นดอกเบี้ย ● เงินเฟ้อปรับตัวสูงที่สุดอีกครั้งในเดือนตุลาคม ที่ระดับ 10.7% ● หลังจากการขึ้นดอกเบี้ย 0.75% ในเดือนตุลาคม ECB ส่งสัญญาณว่าจะลดอัตราการขึ้นดอกเบี้ยลงในเดือนธันวาคม ● อย่างไรก็ดี ถ้า FED ยังขึ้นดอกเบี้ยต่อเนื่อง แต่ ECB ลดอัตราการขึ้นดอกเบี้ยลง ค่าเงินยูโรอาจอ่อนตัวลงอีก ทำให้เกิดภาวะขาดดุลทางการค้า มุมมอง: ยังไม่มีการดำเนินนโยบายการเงินแบบตึงตัว (QT) เท่าไรนัก ● ธนาคารกลางเริ่มให้พันธบัตรหมดอายุ ทำให้งบดุลไม่โตขึ้นแล้ว ● งบดุลของ BOJ โตขึ้นเล็กน้อยในเดือนตุลาคม มุมมอง: เราเชื่อว่าธนาคารกลางจะกลับทิศนโยบายในอนาคต ● ธนาคารกลางสื่อสารว่าจะควบคุมให้เงินเฟ้อลดลง และนักลงทุนดูเหมือนว่าจะเชื่อเช่นนั้น ● เราเชื่อว่าธนาคารกลาง และนักการเมืองพร้อมที่จะเปลี่ยนนโยบาย หากมีความเสียหายเกิดขึ้นกับเศรษฐกิจ ● และเราเชื่อว่าธนาคารกลางกำลังจะทำให้เกิดความเสียหายกับเศรษฐกิจ มุมมอง: stagflation จะเป็นสิ่งเลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้น ● ถ้าธนาคารกลางชะลอการเติบโตของเศรษฐกิจ แต่ไม่สามารถหยุดเงินเฟ้อได้ จะเกิดภาวะ stagflation ● ภาวะ stagflation ส่งผลเสียต่อหุ้นและพันธบัตร ● สินค้าโภคภัณฑ์มักสร้างผลตอบแทนได้ดีในช่วงเงินเฟ้อ และทองคำมักสร้างผลตอบแทนได้ดีในช่วง stagflation ● เนื่องจากยังมีความไม่แน่นอนสูง เราจำกัดการลงทุนในหุ้น มุมมอง: ตลาดหุ้นสหรัฐฯ มีบทบาทมากต่อตลาดการเงินโลก ● เงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นเหมือนสินทรัพย์ปลอดภัย ซึ่งการขึ้นดอกเบี้ยและการทำ QT จะทำให้ค่าเงินดอลลาร์แข็งขึ้นอีก ● เราเชื่อว่าตลาดหุ้นสหรัฐฯ มีความยืดหยุ่นต่อความเสี่ยงได้ดีกว่าตลาดหุ้นอื่น ● เรายังให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้นในแต่ละภูมิภาคอย่างน้อย 5% เนื่องจากเราเชื่อว่าตลาดหุ้นยังอ่อนแอ มุมมอง: ECB ก็ต้องสู้กับเงินเฟ้อเช่นกัน ● ราคาพลังงานที่สูงขึ้นจะกดดันการบริโภค และการผลิต ● เราคงน้ำหนัก 5% ในการลงทุนในตลาดหุ้นยุโรปกลุ่มพัฒนาแล้ว มุมมอง: การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ส่งผลลบต่อตลาดเกิดใหม่ ● การขึ้นดอกเบี้ยของ FED น่าจะทำให้เงินเหรียญสหรัฐฯ แข็งค่า สภาพคล่องในระบบลดลง และทำให้ตลาดเกิดใหม่ได้รับผลกระทบเชิงลบได้ ● เงินเหรียญสหรัฐฯ ถือเป็นสินทรัพย์ปลอดภัย (safe haven) ซึ่งนักลงทุนอาจใช้พักเงินในช่วงที่สถานการณ์โลกมีความไม่แน่นอนสูง มุมมอง: การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และเศรษฐกิจจีนยังเป็นข้อกังวล ● การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำให้การชำระหนี้ที่เป็นเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำได้ยากขึ้น เนื่องจากจะต้องใช้เงินสกุลท้องถิ่นมาแลกมากขึ้น ● เรายังไม่เชื่อมั่นว่าเศรษฐกิจจีนจะฟื้นตัว ● ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ได้ครองอำนาจอีกครั้ง และการควบคุมเงินเฟ้อของรัฐบาลอาจกดดันภาคเศรษฐกิจและรายได้ของบริษัท ตลอดจนนโยบายโควิดเป็นศูนย์ (zero-covid policy) ยังไม่ได้ถูกยกเลิก มุมมอง: หุ้นจีนยังคงกดดันผลตอบแทนหุ้นตลาดเกิดใหม่ และตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่น ● หุ้นจีนน่าจะยังคงกดดันผลตอบแทนหุ้นตลาดเกิดใหม่ และตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่นต่อไป ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นตลาดเกิดใหม่ และ 5% ในหุ้นตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่น มุมมอง: เงินเยนน่าจะอ่อนค่าต่อไป ● BOJ ยังคงดอกเบี้ยนโยบายที่ระดับต่ำ และคาดหวังว่าอัตราเงินเฟ้อจะเพิ่มสูงขึ้น ● เราให้น้ำหนัก 5% ในตลาดหุ้นญี่ปุ่น มุมมอง: เราให้น้ำหนัก 25% ในพันธบัตร ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนน้ำหนักในการลงทุน มุมมอง: พันธบัตรยังเป็นการลงทุนที่ปลอดภัย แม้ว่าในปี 2022 จะให้ผลตอบแทนที่ค่อนข้างแย่ ● ในช่วงเศรษฐกิจถดถอย การลงทุนในสินทรัพย์ปลอดภัย เช่น พันธบัตรรัฐบาล มักให้ผลตอบแทนดี ● อย่างไรก็ดี ในช่วงที่เงินเฟ้อสูง อัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่ต่ำ อาจทำให้อัตราผลตอบแทนที่แท้จริง (real return) ติดลบ ● เราไม่ได้ใช้พันธบัตรในการเก็งกำไร เพื่อสร้างผลตอบแทน แต่เรามองว่าพันธบัตรสามารถป้องกันความเสี่ยงได้ดี มุมมอง: เราให้น้ำหนักสินค้าโภคภัณฑ์ที่ 25% ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนน้ำหนักในการลงทุน มุมมอง: แม้ว่าราคาก๊าซธรรมชาติจะกลับมาอยู่ในระดับเดียวกันเดือนมิถุนายน 2021 แต่ราคาน้ำมันยังคงสูง ● ราคาก๊าซธรรมชาติในยุโรปกลับเข้าสู่ระดับปกติ เนื่องจากมีสำรองเพียงพอ และสภาพภูมิอากาศไม่รุนแรงนัก มุมมอง: ตลาดเชื่อว่าราคาก๊าซธรรมชาติจะกลับมาแพงขึ้น ● การพึ่งพิงพลังงานจากรัสเซียจะส่งผลกระทบต่อตลาดพลังงานในยุโรป ● ถ้าอากาศหนาวเย็นลง ปริมาณก๊าซสำรองอาจลดลงอย่างรวดเร็ว ทำให้ราคาปรับตัวขึ้น มุมมอง: ปัจจัยพื้นฐานยังสนับสนุนราคาน้ำมัน ● กลุ่ม OPEC+ ผลิตได้ไม่เป็นไปตามเป้า และมีการลดกำลังการผลิต ทำให้ราคาน้ำมันน่าจะอยู่ในระดับสูงต่อไป ● สงครามในยูเครนน่าจะก่อให้เกิดปัญหาด้านอุปทานต่ออีกระยะหนึ่ง ● ราคาพลังงานน่าจะอยู่ในระดับสูงต่อไป จากการลงทุนที่ไม่เพียงพอในโครงการใหม่ ๆ มุมมอง: อุปทานสำหรับสินค้าทางการเกษตรอาจตึงตัวมากขึ้นอีก ● นอกจากพลังงานแล้ว รัสเซียยังเป็นผู้ส่งออกโลหะอุตสาหกรรมหลายชนิด รวมถึงรัสเซีย และยูเครนยังเป็นผู้ส่งออกสำคัญของสินค้าทางการเกษตร ● ลานีญ่า (La Nina) อาจทำให้อุปทานสินค้าเกษตร เช่น ข้าวโพด ถั่วเหลือง และแป้ง ลดลง ซึ่งลานีญ่านี้เองทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไป เกิดพายุรุนแรง และความแห้งแล้ง ซึ่งผลกระทบอาจแตกต่างกันตามภูมิภาค มุมมอง: ราคาพลังงานที่สูงขึ้น ส่งผลต่อราคาอาหาร แต่ราคาธัญพืชฟื้นตัวได้เล็กน้อยในเดือนกันยายน ● ก๊าซธรรมชาติใช้ในการทำปุ๋ย และราคาที่เพิ่มขึ้นของปุ๋ยทำให้เมล็ดพันธุ์ต้องปรับราคาขึ้นตามไปด้วย ● เมื่อราคาก๊าซธรรมชาติต่ำลง บริษัทผลิตปุ๋ยอาจกลับมาผลิตปุ๋ยอีกครั้ง ● ข้าวโพดถูกใช้เป็นอาหารของสัตว์ ซึ่งราคาข้าวโพดที่แพงขึ้นทำให้ราคาเนื้อสัตว์ปรับขึ้นตาม มุมมอง: ดัชนีราคาอาหารโลกปรับขึ้นสูงที่สุดในเดือนมีนาคม 2022 ที่ 160 และปัจจุบันอยู่ที่ 136 ในเดือนกันยายน 2022 ● การห้ามการส่งออกอาหารของบางประเทศทำให้เกิดการขาดแคลนอาหารและทำให้ราคาอาหารสูงขึ้น ● ราคาน้ำมันพืชและธัญพืชที่ปรับตัวลงทำให้ดัชนีราคาอาหารปรับตัวลง ● ราคาเนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์จากนมอยู่ในระดับเดียวกับเดือนมีนาคม 2022 มุมมอง: ราคาสินค้าโภคภัณฑ์น่าจะยังปรับขึ้นต่อได้ ● การฟื้นตัวของความต้องการ (อาหารและพลังงาน) ภาวะเงินเฟ้อ และปัญหาห่วงโซ่อุปทาน ทั้งที่เกี่ยวและไม่เกี่ยวกับสงครามจะผลักดันให้สินค้าโภคภัณฑ์ปรับตัวสูงขึ้น ● การเปิดเมืองอีกครั้งของจีนจะทำให้ความต้องการสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● ถ้าเกิดภาวะ stagflation คาดว่าสินค้าโภคภัณฑ์จะสร้างผลตอบแทนได้ดี มุมมอง: เราให้น้ำหนักทองคำที่ 25% ● เราไม่ได้เปลี่ยนแปลงน้ำหนักการลงทุน มุมมอง: ทองคำจะเป็นเหมือนหลักประกันป้องกันความเสี่ยง ● สงครามในยูเครนทำให้เกิดความไม่แน่นอน ผลักดันความคาดหวังอัตราเงินเฟ้อ ทำให้สินทรัพย์ปลอดภัย เช่น ทองคำ ได้รับความสนใจมากขึ้น ● อย่างไรก็ดี ความคาดหวังการขึ้นดอกเบี้ย อาจกดดันราคาทองคำ ● โดยทั่วไป ทองคำจะช่วยป้องกันความเสี่ยงในช่วงตลาดขาลงได้ ความเสี่ยง: เงินเฟ้อถูกควบคุมได้อย่างรวดเร็ว ● ถ้าธนาคารกลางสร้างความแปลกใจให้กับตลาดด้วยการขึ้นดอกเบี้ยเร็วและแรง พร้อมกับการดึงสภาพคล่องออกจากตลาด อาจจะทำให้ตลาดหุ้นปรับตัวลงอย่างรุนแรง ● เราไม่ได้ให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้นมาก หากธนาคารกลางปรับเปลี่ยนนโยบาย และหุ้นปรับตัวสูงขึ้น อาจทำให้เราเสียโอกาสบ้าง ● เศรษฐกิจจีนที่อ่อนแออาจลดความต้องการของสินค้าโภคภัณฑ์ กดดันทำให้ราคาต่ำลงได้ ● ราคาสินค้าโภคภัณฑ์อื่นอาจปรับตัวลงพร้อมกับราคาพลังงาน เนื่องจากพลังงานเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิต ข้อสรุปที่สำคัญ ● AWS สร้างผลตอบแทนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 2.7% ในเดือนตุลาคม 2022 ● ธนาคารกลางกำลังขึ้นดอกเบี้ยในช่วงที่เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอย เพื่อชะลออัตราเงินเฟ้อ โดย stagflation เป็นสิ่งที่เลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้นได้ ● ความต้องการสินค้าจำเป็น (อาหารและพลังงาน) ภาวะเงินเฟ้อ และปัญหาห่วงโซ่อุปทานจะทำใหราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● พันธบัตรและทองคำใช้ในการลดความเสี่ยง ● ความเสี่ยง: เงินเฟ้อควบคุมได้ นโยบายการเงินทำให้ตลาดหุ้นปรับลงอย่างรุนแรง และเศรษฐกิจจีนที่อ่อนแอ

อัปเดต: เงินเหรียญสหรัฐฯ มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น

อัปเดต: หุ้นกู้เอกชนทำผลงานได้แย่ในปีนี้ อัปเดต: หุ้นกู้เอกชนทำผลงานได้แย่ในปีนี้ อัปเดต: พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษให้ผลตอบแทนแย่อย่างมีนัยสำคัญในช่วงปีที่ผ่านมา อัปเดต: พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษให้ผลตอบแทนแย่อย่างมีนัยสำคัญในช่วงปีที่ผ่านมา กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (REIT) ก็ไม่สามารถป้องกันความเสี่ยงจากอัตราเงินเฟ้อได้ อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยของสหรัฐฯ ทำให้ค่าผ่อนบ้านสูงขึ้นมาก อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยมักจะตามมาด้วยราคาบ้านที่ลดลง อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยมักจะตามมาด้วยราคาบ้านที่ลดลง อัปเดต: เงินเหรียญสหรัฐฯ มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น อัปเดต: เงินเหรียญสหรัฐฯ มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น ● เงินเหรียญสหรัฐฯ ถูกใช้ในธุรกรรมทางการเงินกว่า 40% ของธุรกรรมทั้งหมด อัปเดต: เงินยูโรอ่อนค่าลงมากเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐฯ อัปเดต: ค่าเงินยูโรที่อ่อนค่าทำให้ดุลการค้าของเยอรมนีลดลงอย่างมีนัยสำคัญ อัปเดต: เงินเยนอ่อนตัวเนื่องจากธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) เข้าแทรกแซง อัปเดต: สหรัฐฯ และจีนยังคงมีความขัดแย้งเรื่องเทคโนโลยีเซมิคอนดักเตอร์ อัปเดต: จีนขยายอิทธิพลในห่วงโซ่การค้าโลก อัปเดต: จีนขยายอิทธิพลในห่วงโซ่การค้าโลก อัปเดต: ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ครองอำนาจต่ออีกครั้ง ● อดีตประธานาธิบดี หู จิ่นเทา ถูกพาตัวออกจากการประชุมพรรคคอมมิวนิสต์จีน ในวันที่ 22 ตุลาคม 2022 อัปเดต: การขาดแคลนอุปทานในเชิงโครงสร้างเป็นผลดีต่อราคาสินค้าโภคภัณฑ์ อัปเดต: OPEC+ ลดโควตาการผลิตน้ำมัน ซึ่งน่าจะทำให้อุปทานน้ำมันโลกลดลง อัปเดต: ประธานาธิบดี โจ ไบเดน ต้องการที่จะเพิ่มภาษีให้กับบริษัทผู้ผลิตพลังงาน ซึ่งจะลดแรงจูงใจในการลงทุน อัปเดต: เราอาจเห็นการรวมกลุ่มกันของกลุ่มผู้ผลิตสินแร่ที่ต้องใช้ในแบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้า คล้ายกับการรวมกลุ่มกันของ OPEC อัปเดต: ธนาคารกลางเริ่มเก็บสะสมทองคำมากขึ้น ข้อสรุปที่สำคัญ ● พันธบัตรทำผลงานได้ไม่ดีในปีนี้ ● เงินดอลลาร์สหรัฐฯ แข็งค่าขึ้นมาก และยังคงเป็นสกุลเงินสำรองหลักของโลก การแข็งค่าของเงินดอลลาร์กดดันเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ● ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ครองอำนาจต่อ ● ปัญหาการขาดแคลนอุปทานจะช่วยให้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● ธนาคารกลางเริ่มเก็บสะสมทองคำ รีวิว: เราให้น้ำหนักการลงทุน 25% ในแต่ละสินทรัพย์ ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักในครั้งนี้ รีวิว: หุ้นโลกปรับตัวลงในปี 2022 แต่ปรับตัวขึ้น 5.9% ในเดือนตุลาคม ● หุ้นโลกปรับตัวขึ้น 19.0% ในปี 2021 แต่ตั้งแต่ต้นปี 2022 ปรับตัวลง 20.8% ● ตลาดปรับตัวขึ้น เพราะความหวังว่าธนาคารกลางจะกลับทิศนโยบาย รีวิว: หุ้นสหรัฐฯ ทำผลงานได้ดีที่สุดเป็นอันดับ 2 ในเดือนตุลาคม โดยปรับขึ้น 8.3% ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นสหรัฐฯ ● การคาดการณ์ว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) จะผ่อนคลายท่าทีลง และ GDP ที่ขยายตัวมากกว่าที่ประมาณการไว้ทำให้หุ้นฟื้นตัวขึ้น รีวิว: หุ้นยุโรปทำผลงานได้ดีที่สุด โดยปรับตัวขึ้น 8.9% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นยุโรปกลุ่มพัฒนาแล้ว ● การฟื้นตัวของหุ้นยุโรปก็มาจากความคาดหวังว่าธนาคารกลางจะชะลอความเร็วในการขึ้นดอกเบี้ยลง รีวิว: ตลาดเกิดใหม่ปรับตัวลง 3.3% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นตลาดเกิดใหม่ โดยทำผลงานได้แย่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ● การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ กดดันผลตอบแทนของตลาดเกิดใหม่ รีวิว: หุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น ปรับตัวลงมากที่สุดเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน โดยปรับตัวลง 4.8% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น ● การปรับตัวลงของหุ้นจีน และไต้หวัน รวมถึงการแข็งค่าของดอลลาร์สหรัฐฯ กดดันผลตอบแทนของตลาดหุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น รีวิว: ตลาดญี่ปุ่นสร้างผลตอบแทนได้ดีเป็นอันดับ 3 ในเดือนตุลาคม โดยปรับตัวขึ้น 4.4% ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นญี่ปุ่น ● หุ้นญี่ปุ่นฟื้นตัวจากความคาดหวังของการผ่อนคลายท่าทีของ FED รีวิว: ตลาดตราสารหนี้ไทยทรงตัว ● เราให้น้ำหนัก 5% กับตราสารหนี้ไทย (แทนที่จะเป็นตราสารหนี้ต่างประเทศ) ซึ่งทรงตัวในช่วงที่ผ่านมา ● วัตถุประสงค์หลักของการลงทุนในตราสารหนี้ เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากตลาดขาลง รีวิว: ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ให้ผลตอบแทน 3.1% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 25% กับสินค้าโภคภัณฑ์ ● ราคาสินค้าโภคภัณฑ์เป็นขาขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่เดือนเมษายน 2020 รีวิว: น้ำมันดิบ WTI ฟื้นตัวเล็กน้อย โดยราคาปิด ณ สิ้นเดือนตุลาคม อยู่ที่ 87 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล รีวิว: พลังงานสร้างผลตอบแทนดีที่สุด รองลงมาคือปศุสัตว์ ● การลดจำนวนโควต้าการผลิตของ OPEC+ ทำให้ราคาน้ำมันสูงขึ้น ● เราเห็นการฟื้นตัวของราคาปศุสัตว์ เช่นกัน รีวิว: ทองคำปรับตัวลงในปี 2022 โดยปรับตัวลง 2.3% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 25% ในทองคำ ● ราคาทองคำอยู่ที่ 1,633 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อออนซ์ ● การฟื้นตัวของหุ้น ทำให้ราคาสินทรัพย์ปลอดภัย เช่น ทองคำ ถูกกดดัน รีวิว: ความอ่อนแอของผลตอบแทนจากการลงทุนในทองคำมีส่วนสำคัญจากการแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ● เสมือนว่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นคู่แลกเปลี่ยน โดยการแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำให้ราคาทองคำต่ำลงในรูปเหรียญสหรัฐฯ ● และหมายความว่า ผลตอบแทนของทองคำ ขึ้นอยู่กับเงินสกุลท้องถิ่นต่าง ๆ ด้วย รีวิว: มีเพียงเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และสวิสฟรังก์เท่านั้น ที่แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับราคาทองคำในปี 2022 ● ในเดือนตุลาคม เงินเยน และเงินหยวนสามารถซื้อทองคำได้น้อยลง (ค่าเงินอ่อนเมื่อเทียบกับทองคำ) ● ขณะที่เงินสกุลอื่น ๆ แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับทองคำ ● เงินเหรียญสหรัฐฯ 3 เดือนที่ผ่านมา แข็งค่าขึ้นกว่าเดิม 4.1% เมื่อเทียบกับทองคำ โดยแข็งกว่าปีก่อนหน้า 4.0% ● เงินปอนด์อังกฤษ 3 เดือนที่ผ่านมา แข็งค่าขึ้น 2.7% เมื่อเทียบกับทองคำ โดยแข็งกว่าปีก่อน 2.6% รีวิว: AWS ปรับตัวขึ้น 0.8% ในเดือนตุลาคม และทำผลงานเหนือกว่าพอร์ต 60/40 เมื่อนับตั้งแต่ก่อตั้ง ● ตั้งแต่ตั้งพอร์ต AWS ให้ผลตอบแทนสูงกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 4.8% ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2022 เดือนตุลาคม 2022: AWS สร้างผลตอบแทนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 2.7% ● รีวิวผลตอบแทนของสินทรัพย์ต่าง ๆ ที่เราให้น้ำหนัก 25% ● สินค้าโภคภัณฑ์: ทำผลงานได้ดี แต่ต่ำกว่าหุ้น ● พันธบัตร: ผลงานทรงตัว ● ทองคำ: สร้างผลตอบแทนเป็นลบ เพราะนักลงทุนชอบความเสี่ยงมากขึ้น รีวิว: AWS สร้างผลตอบแทนได้ดี ● AWS ให้ผลตอบแทนสูงกว่าพอร์ต 60/40 ในช่วงเวลาส่วนใหญ่ ● ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมาถือเป็นช่วงเวลาที่ท้าทาย รีวิว: AWS มีความผันผวนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 ● สัดส่วนการลงทุนในหุ้น 25-65% ช่วยลดความผันผวน ● ทองคำช่วยลดความผันผวนโดยรวมของพอร์ต เนื่องจากเป็นสินทรัพย์ที่ไม่มีความสัมพันธ์กับหุ้น รีวิว: AWS ขาดทุนน้อยกว่าพอร์ตการลงทุนดั้งเดิมแบบ 60/40 9 ครั้งจาก 10 ครั้งในช่วงที่ตลาดหุ้นปรับตัวลงมากที่สุด ● จุดเด่นสำคัญของ AWS คือ การจำกัดการขาดทุนเมื่อตลาดหุ้นโลกปรับตัวลง ● นับตั้งแต่จัดตั้ง AWS ขาดทุนน้อยกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 9 วันถ้านับจากใน 10 วันที่หุ้นโลกทำผลงานได้ย่ำแย่ที่สุด รีวิว: AWS ทำผลงานแย่กว่าพอร์ตการลงทุนดั้งเดิมแบบ 60/40 ในเดือนตุลาคม แต่ยังทำผลงานเหนือกว่าพอร์ต 60/40 ใน 59% ของเดือนทั้งหมด ● AWS สามารถสร้างผลตอบแทนเหนือกว่าพอร์ต 60/40 ใน 26 เดือนจาก 44 เดือน สรุป FVMR แต่ละภูมิภาค ● พื้นฐาน (Fundamentals): หุ้นสหรัฐฯ มีผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ROE (Return on Equity) สูงที่สุด ● มูลค่า (Valuation): หุ้นตลาดเกิดใหม่ และหุ้นยุโรปพัฒนาแล้วมี PE (Price-to-Earnings) ต่ำที่สุด และหุ้นญี่ปุ่นมี PB (Price-to-Book) ต่ำที่สุด ● แนวโน้ม (Momentum): หุ้นญี่ปุ่นสร้างผลตอบแทนได้ดีที่สุดในปีที่ผ่านมา ● ความเสี่ยง (Risk): หุ้นเอเชียแปซิฟิก และหุ้นญี่ปุ่น มีอัตราหนี้สินต่อทุน (Gearing) ต่ำที่สุด น้ำหนัก: เราให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้น 25% โดยแบ่งเป็น 5% ในแต่ละภูมิภาค ● เราไม่ได้เปลี่ยนน้ำหนักการลงทุน มุมมอง: ราคาน้ำมันเริ่มปรับตัวลงมา แต่เงินเฟ้อยังคงสูง ● น้ำมันเป็นแหล่งพลังงานหลักสำหรับการเกษตร การผลิต และการคมนาคม ● ราคาน้ำมันที่ปรับตัวลงมาอาจช่วยชะลออัตราเงินเฟ้อ หรือทำให้อัตราเงินเฟ้อลดลงได้ ● อย่างไรก็ดี เรากลับพบว่า อัตราเงินเฟ้อยังคงสูงขึ้น มุมมอง: อัตราเงินเฟ้อปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่อง ● ราคาสินค้าและบริการที่แพงขึ้น เมื่อถึงจุดหนึ่งจะทำให้ความต้องการลดลง ● ฐานเงินเฟ้อที่สูงขึ้น จะแสดงระดับอัตราเงินเฟ้อที่ลดลง ● ดังนั้น เงินเฟ้ออาจเข้าใกล้จุดสูงสุดแล้ว แม้ว่าธนาคารกลางยังไม่ได้เข้าแทรกแซง ผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล 3 เดือนปรับตัวสูงขึ้นเป็น 3.8% จาก 1.4% ในปีที่ผ่านมา ● อย่างไรก็ดี อัตราเงินเฟ้อปรับตัวสูงขึ้นเร็วกว่าผลตอบแทนพันธบัตร ● เราคาดหวังว่าธนาคารกลางจะยังคงขึ้นดอกเบี้ยต่อ เพราะดูเหมือนว่ายังชะลอเงินเฟ้อไม่ได้ มุมมอง: ประธาน FED ตั้งมั่นที่จะหยุดยั้งเงินเฟ้อ ● ประธาน FED ยืนยันว่าความเดือดร้อนเป็นสิ่งที่จะเกิดขึ้น เพื่อให้เงินเฟ้อชะลอตัวลง ● “ข้อมูลจากการประชุมครั้งที่ผ่านมาแสดงให้เห็นว่าเป้าหมายดอกเบี้ยนโยบายอาจจะสูงกว่าที่คาดการณ์ไว้แต่แรก” ● FED จะพิจารณาผลลัพธ์จากการขึ้นดอกเบี้ยติดต่อกันหลายครั้ง ● หลายคนคาดว่าคำพูดของประธาน FED ส่งสัญญาณว่า FED กำลังจะลดขนาดการขึ้นดอกเบี้ย มุมมอง: ตลาดมองว่าเงินเฟ้อจะเข้าสู่ภาวะปกติ ● อัตราเงินเฟ้อคาดการณ์สหรัฐฯ 10 ปี อยู่ที่ 2.5% ส่งสัญญาณว่าตลาดคาดว่า FED จะควบคุมเงินเฟ้อได้ ● ถ้าการคาดการณ์เงินเฟ้อต่ำกว่าความจริง จะทำให้ราคาหุ้น สินค้าโภคภัณฑ์ และทองคำปรับตัวขึ้น มุมมอง: ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) ดูเหมือนว่าจะสูงที่สุดแล้ว ● ถ้าราคาน้ำมันไม่ปรับตัวขึ้นอย่างมีนัยสำคัญแล้ว เราคาดว่า CPI น่าจะผ่านจุดที่สูงที่สุดแล้ว ● แต่ว่าราคาน้ำมันที่อยู่ในระดับสูง น่าจะทำให้ราคาอาหารและสินค้าอื่น ๆ ทรงตัวในระดับสูง ทำให้ไม่น่าจะเห็นการปรับตัวลงของ CPI อย่างรวดเร็วภายใน 2-3 เดือนหน้า มุมมอง: การขึ้นดอกเบี้ยในเดือนธันวาคมได้ถูกตลาดคาดการณ์ไว้แล้ว (priced in) ● ตลาดมั่นใจ 100% ว่า FED จะขึ้นดอกเบี้ยในการประชุมครั้งถัดไป ● โดยเชื่อมั่น 61.5% ว่าจะมีการขึ้นดอกเบี้ย 0.5% เข้าสู่ระดับ 4.25-4.50% มุมมอง: การขึ้นดอกเบี้ยครั้งนี้เป็นการปรับขึ้นที่เร็วที่สุดตั้งแต่ช่วง 1980 ● ในการขึ้นดอกเบี้ยปี 2004 ดอกเบี้ยนโยบายปรับขึ้นรวม 4.25% ● ในการขึ้นดอกเบี้ยครั้งนี้ ดอกเบี้ยปรับขึ้นแล้ว 3.75% ● ตลาดคาดว่าดอกเบี้ยจะเข้าสู่ระดับ 4.25% ในเดือนธันวาคม 2022 และปรับเพิ่มขึ้นอีกในเดือนกุมภาพันธ์ 2023 มุมมอง: ดอกเบี้ยไม่เคยขึ้นสู่ระดับ 3% ด้วยความเร็วขนาดนี้ ตั้งแต่ช่วง 1950 มุมมอง: ตั้งแต่เดือนมีนาคม ตลาดคาดว่า FED จะดำเนินนโยบายเข้มงวดมากขึ้น ● ตลาดเชื่อว่าดอกเบี้ยนโยบายจะสูงสุดในเดือนมิถุนายน 2023 ● FED กำลังสู้กับเงินเฟ้ออย่างเข้มข้น แม้ว่าจะต้องเสี่ยงกับเภาวะศรษฐกิจถดถอย มุมมอง: ตลาดมองว่า FED เข้มงวดด้านนโยบายการเงินมากที่สุด ● ดอกเบี้ยนโยบายที่ต่ำกว่าของธนาคารกลางยุโรป (ECB) และธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) ทำให้เชื่อว่าเงินยูโร และเงินเยนจะอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐฯ มุมมอง: การกลับทิศของกราฟอัตราส่วนผลตอบแทนพันธบัตร (inverted yield-curve) รุนแรงขึ้น ● ตั้งแต่ปี 1970 inverted yield-curve จะเกิดขึ้นก่อนภาวะเศรษฐกิจถดถอย ● หลังจากเกิด inverted yield curve จะเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยโดยเฉลี่ยภายใน 1 ปี (ประมาณกลางปี 2023) มุมมอง: จับตาดูความแตกต่างระหว่างผลตอบแทนพันธบัตร (yield spread) ● อัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่แตกต่างกันมากขึ้น แสดงให้เห็นว่านักลงทุนต้องการผลตอบแทนที่มากขึ้น ให้คุ้มค่ากับความเสี่ยง ● สหภาพยุโรปมี yield spread ใกล้เคียงกับในช่วง COVID แล้ว แต่ yield spread ในสหรัฐฯ ยังต่ำกว่า และปรับตัวต่ำลงเรื่อย ๆ มุมมอง: หุ้นถูกประเมินมูลค่าต่ำลงมา โดยมาจากราคาที่ต่ำลงเป็นสำคัญ ● มูลค่าหุ้นโลกที่ถูกประเมินไว้ปรับตัวต่ำลงมากว่าค่าเฉลี่ยในอดีตเล็กน้อย ● แม้ว่าอัตราการทำกำไรจะต่ำกว่าเดิม แต่ว่ายังไม่มีการปรับประมาณการลงอย่างมีนัยสำคัญ มุมมอง: ความเห็นตลาดยังมองว่ากำไรของบริษัทจะเพิ่มขึ้น ● เป็นสิ่งที่ดี ● นักวิเคราะห์เชื่อว่ากำไรของบริษัทจะเติบโต 7% ในปีหน้า และจะเติบโตมากขึ้นเป็นลำดับ มุมมอง: ความเห็นตลาดยังมองว่ากำไรของบริษัทจะเพิ่มขึ้น ● เป็นสิ่งที่ดี ● นักวิเคราะห์เชื่อว่ากำไรของบริษัทจะเติบโต 7% ในปีหน้า และจะเติบโตมากขึ้นเป็นลำดับ มุมมอง: สำหรับภูมิภาคอื่น ๆ คาดว่าอัตราการทำกำไรจะลดลงต่อเนื่อง 2 ปี ● แม้ว่าจะมีความเสี่ยงเศรษฐกิจถดถอย แต่ว่ายังมีการเติบโตของกำไร (การเติบโตไม่ติดลบ) ● นักวิเคราะห์ค่อนข้างกังวลกับบริษัทในสหรัฐฯ ทั้งนี้ นักลงทุนมักจะมองโลกในแง่ดีกว่าความเป็นจริง และไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงของตลาดทันท่วงที รีวิว: ECB อาจจะชะลอการขึ้นดอกเบี้ย ● เงินเฟ้อปรับตัวสูงที่สุดอีกครั้งในเดือนตุลาคม ที่ระดับ 10.7% ● หลังจากการขึ้นดอกเบี้ย 0.75% ในเดือนตุลาคม ECB ส่งสัญญาณว่าจะลดอัตราการขึ้นดอกเบี้ยลงในเดือนธันวาคม ● อย่างไรก็ดี ถ้า FED ยังขึ้นดอกเบี้ยต่อเนื่อง แต่ ECB ลดอัตราการขึ้นดอกเบี้ยลง ค่าเงินยูโรอาจอ่อนตัวลงอีก ทำให้เกิดภาวะขาดดุลทางการค้า มุมมอง: ยังไม่มีการดำเนินนโยบายการเงินแบบตึงตัว (QT) เท่าไรนัก ● ธนาคารกลางเริ่มให้พันธบัตรหมดอายุ ทำให้งบดุลไม่โตขึ้นแล้ว ● งบดุลของ BOJ โตขึ้นเล็กน้อยในเดือนตุลาคม มุมมอง: เราเชื่อว่าธนาคารกลางจะกลับทิศนโยบายในอนาคต ● ธนาคารกลางสื่อสารว่าจะควบคุมให้เงินเฟ้อลดลง และนักลงทุนดูเหมือนว่าจะเชื่อเช่นนั้น ● เราเชื่อว่าธนาคารกลาง และนักการเมืองพร้อมที่จะเปลี่ยนนโยบาย หากมีความเสียหายเกิดขึ้นกับเศรษฐกิจ ● และเราเชื่อว่าธนาคารกลางกำลังจะทำให้เกิดความเสียหายกับเศรษฐกิจ มุมมอง: stagflation จะเป็นสิ่งเลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้น ● ถ้าธนาคารกลางชะลอการเติบโตของเศรษฐกิจ แต่ไม่สามารถหยุดเงินเฟ้อได้ จะเกิดภาวะ stagflation ● ภาวะ stagflation ส่งผลเสียต่อหุ้นและพันธบัตร ● สินค้าโภคภัณฑ์มักสร้างผลตอบแทนได้ดีในช่วงเงินเฟ้อ และทองคำมักสร้างผลตอบแทนได้ดีในช่วง stagflation ● เนื่องจากยังมีความไม่แน่นอนสูง เราจำกัดการลงทุนในหุ้น มุมมอง: ตลาดหุ้นสหรัฐฯ มีบทบาทมากต่อตลาดการเงินโลก ● เงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นเหมือนสินทรัพย์ปลอดภัย ซึ่งการขึ้นดอกเบี้ยและการทำ QT จะทำให้ค่าเงินดอลลาร์แข็งขึ้นอีก ● เราเชื่อว่าตลาดหุ้นสหรัฐฯ มีความยืดหยุ่นต่อความเสี่ยงได้ดีกว่าตลาดหุ้นอื่น ● เรายังให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้นในแต่ละภูมิภาคอย่างน้อย 5% เนื่องจากเราเชื่อว่าตลาดหุ้นยังอ่อนแอ มุมมอง: ECB ก็ต้องสู้กับเงินเฟ้อเช่นกัน ● ราคาพลังงานที่สูงขึ้นจะกดดันการบริโภค และการผลิต ● เราคงน้ำหนัก 5% ในการลงทุนในตลาดหุ้นยุโรปกลุ่มพัฒนาแล้ว มุมมอง: การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ส่งผลลบต่อตลาดเกิดใหม่ ● การขึ้นดอกเบี้ยของ FED น่าจะทำให้เงินเหรียญสหรัฐฯ แข็งค่า สภาพคล่องในระบบลดลง และทำให้ตลาดเกิดใหม่ได้รับผลกระทบเชิงลบได้ ● เงินเหรียญสหรัฐฯ ถือเป็นสินทรัพย์ปลอดภัย (safe haven) ซึ่งนักลงทุนอาจใช้พักเงินในช่วงที่สถานการณ์โลกมีความไม่แน่นอนสูง มุมมอง: การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และเศรษฐกิจจีนยังเป็นข้อกังวล ● การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำให้การชำระหนี้ที่เป็นเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำได้ยากขึ้น เนื่องจากจะต้องใช้เงินสกุลท้องถิ่นมาแลกมากขึ้น ● เรายังไม่เชื่อมั่นว่าเศรษฐกิจจีนจะฟื้นตัว ● ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ได้ครองอำนาจอีกครั้ง และการควบคุมเงินเฟ้อของรัฐบาลอาจกดดันภาคเศรษฐกิจและรายได้ของบริษัท ตลอดจนนโยบายโควิดเป็นศูนย์ (zero-covid policy) ยังไม่ได้ถูกยกเลิก มุมมอง: หุ้นจีนยังคงกดดันผลตอบแทนหุ้นตลาดเกิดใหม่ และตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่น ● หุ้นจีนน่าจะยังคงกดดันผลตอบแทนหุ้นตลาดเกิดใหม่ และตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่นต่อไป ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นตลาดเกิดใหม่ และ 5% ในหุ้นตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่น มุมมอง: เงินเยนน่าจะอ่อนค่าต่อไป ● BOJ ยังคงดอกเบี้ยนโยบายที่ระดับต่ำ และคาดหวังว่าอัตราเงินเฟ้อจะเพิ่มสูงขึ้น ● เราให้น้ำหนัก 5% ในตลาดหุ้นญี่ปุ่น มุมมอง: เราให้น้ำหนัก 25% ในพันธบัตร ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนน้ำหนักในการลงทุน มุมมอง: พันธบัตรยังเป็นการลงทุนที่ปลอดภัย แม้ว่าในปี 2022 จะให้ผลตอบแทนที่ค่อนข้างแย่ ● ในช่วงเศรษฐกิจถดถอย การลงทุนในสินทรัพย์ปลอดภัย เช่น พันธบัตรรัฐบาล มักให้ผลตอบแทนดี ● อย่างไรก็ดี ในช่วงที่เงินเฟ้อสูง อัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่ต่ำ อาจทำให้อัตราผลตอบแทนที่แท้จริง (real return) ติดลบ ● เราไม่ได้ใช้พันธบัตรในการเก็งกำไร เพื่อสร้างผลตอบแทน แต่เรามองว่าพันธบัตรสามารถป้องกันความเสี่ยงได้ดี มุมมอง: เราให้น้ำหนักสินค้าโภคภัณฑ์ที่ 25% ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนน้ำหนักในการลงทุน มุมมอง: แม้ว่าราคาก๊าซธรรมชาติจะกลับมาอยู่ในระดับเดียวกันเดือนมิถุนายน 2021 แต่ราคาน้ำมันยังคงสูง ● ราคาก๊าซธรรมชาติในยุโรปกลับเข้าสู่ระดับปกติ เนื่องจากมีสำรองเพียงพอ และสภาพภูมิอากาศไม่รุนแรงนัก มุมมอง: ตลาดเชื่อว่าราคาก๊าซธรรมชาติจะกลับมาแพงขึ้น ● การพึ่งพิงพลังงานจากรัสเซียจะส่งผลกระทบต่อตลาดพลังงานในยุโรป ● ถ้าอากาศหนาวเย็นลง ปริมาณก๊าซสำรองอาจลดลงอย่างรวดเร็ว ทำให้ราคาปรับตัวขึ้น มุมมอง: ปัจจัยพื้นฐานยังสนับสนุนราคาน้ำมัน ● กลุ่ม OPEC+ ผลิตได้ไม่เป็นไปตามเป้า และมีการลดกำลังการผลิต ทำให้ราคาน้ำมันน่าจะอยู่ในระดับสูงต่อไป ● สงครามในยูเครนน่าจะก่อให้เกิดปัญหาด้านอุปทานต่ออีกระยะหนึ่ง ● ราคาพลังงานน่าจะอยู่ในระดับสูงต่อไป จากการลงทุนที่ไม่เพียงพอในโครงการใหม่ ๆ มุมมอง: อุปทานสำหรับสินค้าทางการเกษตรอาจตึงตัวมากขึ้นอีก ● นอกจากพลังงานแล้ว รัสเซียยังเป็นผู้ส่งออกโลหะอุตสาหกรรมหลายชนิด รวมถึงรัสเซีย และยูเครนยังเป็นผู้ส่งออกสำคัญของสินค้าทางการเกษตร ● ลานีญ่า (La Nina) อาจทำให้อุปทานสินค้าเกษตร เช่น ข้าวโพด ถั่วเหลือง และแป้ง ลดลง ซึ่งลานีญ่านี้เองทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไป เกิดพายุรุนแรง และความแห้งแล้ง ซึ่งผลกระทบอาจแตกต่างกันตามภูมิภาค มุมมอง: ราคาพลังงานที่สูงขึ้น ส่งผลต่อราคาอาหาร แต่ราคาธัญพืชฟื้นตัวได้เล็กน้อยในเดือนกันยายน ● ก๊าซธรรมชาติใช้ในการทำปุ๋ย และราคาที่เพิ่มขึ้นของปุ๋ยทำให้เมล็ดพันธุ์ต้องปรับราคาขึ้นตามไปด้วย ● เมื่อราคาก๊าซธรรมชาติต่ำลง บริษัทผลิตปุ๋ยอาจกลับมาผลิตปุ๋ยอีกครั้ง ● ข้าวโพดถูกใช้เป็นอาหารของสัตว์ ซึ่งราคาข้าวโพดที่แพงขึ้นทำให้ราคาเนื้อสัตว์ปรับขึ้นตาม มุมมอง: ดัชนีราคาอาหารโลกปรับขึ้นสูงที่สุดในเดือนมีนาคม 2022 ที่ 160 และปัจจุบันอยู่ที่ 136 ในเดือนกันยายน 2022 ● การห้ามการส่งออกอาหารของบางประเทศทำให้เกิดการขาดแคลนอาหารและทำให้ราคาอาหารสูงขึ้น ● ราคาน้ำมันพืชและธัญพืชที่ปรับตัวลงทำให้ดัชนีราคาอาหารปรับตัวลง ● ราคาเนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์จากนมอยู่ในระดับเดียวกับเดือนมีนาคม 2022 มุมมอง: ราคาสินค้าโภคภัณฑ์น่าจะยังปรับขึ้นต่อได้ ● การฟื้นตัวของความต้องการ (อาหารและพลังงาน) ภาวะเงินเฟ้อ และปัญหาห่วงโซ่อุปทาน ทั้งที่เกี่ยวและไม่เกี่ยวกับสงครามจะผลักดันให้สินค้าโภคภัณฑ์ปรับตัวสูงขึ้น ● การเปิดเมืองอีกครั้งของจีนจะทำให้ความต้องการสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● ถ้าเกิดภาวะ stagflation คาดว่าสินค้าโภคภัณฑ์จะสร้างผลตอบแทนได้ดี มุมมอง: เราให้น้ำหนักทองคำที่ 25% ● เราไม่ได้เปลี่ยนแปลงน้ำหนักการลงทุน มุมมอง: ทองคำจะเป็นเหมือนหลักประกันป้องกันความเสี่ยง ● สงครามในยูเครนทำให้เกิดความไม่แน่นอน ผลักดันความคาดหวังอัตราเงินเฟ้อ ทำให้สินทรัพย์ปลอดภัย เช่น ทองคำ ได้รับความสนใจมากขึ้น ● อย่างไรก็ดี ความคาดหวังการขึ้นดอกเบี้ย อาจกดดันราคาทองคำ ● โดยทั่วไป ทองคำจะช่วยป้องกันความเสี่ยงในช่วงตลาดขาลงได้ ความเสี่ยง: เงินเฟ้อถูกควบคุมได้อย่างรวดเร็ว ● ถ้าธนาคารกลางสร้างความแปลกใจให้กับตลาดด้วยการขึ้นดอกเบี้ยเร็วและแรง พร้อมกับการดึงสภาพคล่องออกจากตลาด อาจจะทำให้ตลาดหุ้นปรับตัวลงอย่างรุนแรง ● เราไม่ได้ให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้นมาก หากธนาคารกลางปรับเปลี่ยนนโยบาย และหุ้นปรับตัวสูงขึ้น อาจทำให้เราเสียโอกาสบ้าง ● เศรษฐกิจจีนที่อ่อนแออาจลดความต้องการของสินค้าโภคภัณฑ์ กดดันทำให้ราคาต่ำลงได้ ● ราคาสินค้าโภคภัณฑ์อื่นอาจปรับตัวลงพร้อมกับราคาพลังงาน เนื่องจากพลังงานเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิต ข้อสรุปที่สำคัญ ● AWS สร้างผลตอบแทนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 2.7% ในเดือนตุลาคม 2022 ● ธนาคารกลางกำลังขึ้นดอกเบี้ยในช่วงที่เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอย เพื่อชะลออัตราเงินเฟ้อ โดย stagflation เป็นสิ่งที่เลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้นได้ ● ความต้องการสินค้าจำเป็น (อาหารและพลังงาน) ภาวะเงินเฟ้อ และปัญหาห่วงโซ่อุปทานจะทำใหราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● พันธบัตรและทองคำใช้ในการลดความเสี่ยง ● ความเสี่ยง: เงินเฟ้อควบคุมได้ นโยบายการเงินทำให้ตลาดหุ้นปรับลงอย่างรุนแรง และเศรษฐกิจจีนที่อ่อนแอ

อัปเดต: เงินเหรียญสหรัฐฯ มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น

อัปเดต: หุ้นกู้เอกชนทำผลงานได้แย่ในปีนี้ อัปเดต: หุ้นกู้เอกชนทำผลงานได้แย่ในปีนี้ อัปเดต: พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษให้ผลตอบแทนแย่อย่างมีนัยสำคัญในช่วงปีที่ผ่านมา อัปเดต: พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษให้ผลตอบแทนแย่อย่างมีนัยสำคัญในช่วงปีที่ผ่านมา กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (REIT) ก็ไม่สามารถป้องกันความเสี่ยงจากอัตราเงินเฟ้อได้ อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยของสหรัฐฯ ทำให้ค่าผ่อนบ้านสูงขึ้นมาก อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยมักจะตามมาด้วยราคาบ้านที่ลดลง อัปเดต: การขึ้นดอกเบี้ยมักจะตามมาด้วยราคาบ้านที่ลดลง อัปเดต: เงินเหรียญสหรัฐฯ มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น อัปเดต: เงินเหรียญสหรัฐฯ มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น ● เงินเหรียญสหรัฐฯ ถูกใช้ในธุรกรรมทางการเงินกว่า 40% ของธุรกรรมทั้งหมด อัปเดต: เงินยูโรอ่อนค่าลงมากเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐฯ อัปเดต: ค่าเงินยูโรที่อ่อนค่าทำให้ดุลการค้าของเยอรมนีลดลงอย่างมีนัยสำคัญ อัปเดต: เงินเยนอ่อนตัวเนื่องจากธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) เข้าแทรกแซง อัปเดต: สหรัฐฯ และจีนยังคงมีความขัดแย้งเรื่องเทคโนโลยีเซมิคอนดักเตอร์ อัปเดต: จีนขยายอิทธิพลในห่วงโซ่การค้าโลก อัปเดต: จีนขยายอิทธิพลในห่วงโซ่การค้าโลก อัปเดต: ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ครองอำนาจต่ออีกครั้ง ● อดีตประธานาธิบดี หู จิ่นเทา ถูกพาตัวออกจากการประชุมพรรคคอมมิวนิสต์จีน ในวันที่ 22 ตุลาคม 2022 อัปเดต: การขาดแคลนอุปทานในเชิงโครงสร้างเป็นผลดีต่อราคาสินค้าโภคภัณฑ์ อัปเดต: OPEC+ ลดโควตาการผลิตน้ำมัน ซึ่งน่าจะทำให้อุปทานน้ำมันโลกลดลง อัปเดต: ประธานาธิบดี โจ ไบเดน ต้องการที่จะเพิ่มภาษีให้กับบริษัทผู้ผลิตพลังงาน ซึ่งจะลดแรงจูงใจในการลงทุน อัปเดต: เราอาจเห็นการรวมกลุ่มกันของกลุ่มผู้ผลิตสินแร่ที่ต้องใช้ในแบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้า คล้ายกับการรวมกลุ่มกันของ OPEC อัปเดต: ธนาคารกลางเริ่มเก็บสะสมทองคำมากขึ้น ข้อสรุปที่สำคัญ ● พันธบัตรทำผลงานได้ไม่ดีในปีนี้ ● เงินดอลลาร์สหรัฐฯ แข็งค่าขึ้นมาก และยังคงเป็นสกุลเงินสำรองหลักของโลก การแข็งค่าของเงินดอลลาร์กดดันเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ● ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ครองอำนาจต่อ ● ปัญหาการขาดแคลนอุปทานจะช่วยให้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● ธนาคารกลางเริ่มเก็บสะสมทองคำ รีวิว: เราให้น้ำหนักการลงทุน 25% ในแต่ละสินทรัพย์ ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักในครั้งนี้ รีวิว: หุ้นโลกปรับตัวลงในปี 2022 แต่ปรับตัวขึ้น 5.9% ในเดือนตุลาคม ● หุ้นโลกปรับตัวขึ้น 19.0% ในปี 2021 แต่ตั้งแต่ต้นปี 2022 ปรับตัวลง 20.8% ● ตลาดปรับตัวขึ้น เพราะความหวังว่าธนาคารกลางจะกลับทิศนโยบาย รีวิว: หุ้นสหรัฐฯ ทำผลงานได้ดีที่สุดเป็นอันดับ 2 ในเดือนตุลาคม โดยปรับขึ้น 8.3% ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นสหรัฐฯ ● การคาดการณ์ว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) จะผ่อนคลายท่าทีลง และ GDP ที่ขยายตัวมากกว่าที่ประมาณการไว้ทำให้หุ้นฟื้นตัวขึ้น รีวิว: หุ้นยุโรปทำผลงานได้ดีที่สุด โดยปรับตัวขึ้น 8.9% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นยุโรปกลุ่มพัฒนาแล้ว ● การฟื้นตัวของหุ้นยุโรปก็มาจากความคาดหวังว่าธนาคารกลางจะชะลอความเร็วในการขึ้นดอกเบี้ยลง รีวิว: ตลาดเกิดใหม่ปรับตัวลง 3.3% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นตลาดเกิดใหม่ โดยทำผลงานได้แย่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ● การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ กดดันผลตอบแทนของตลาดเกิดใหม่ รีวิว: หุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น ปรับตัวลงมากที่สุดเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน โดยปรับตัวลง 4.8% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น ● การปรับตัวลงของหุ้นจีน และไต้หวัน รวมถึงการแข็งค่าของดอลลาร์สหรัฐฯ กดดันผลตอบแทนของตลาดหุ้นเอเชียแปซิฟิกไม่รวมญี่ปุ่น รีวิว: ตลาดญี่ปุ่นสร้างผลตอบแทนได้ดีเป็นอันดับ 3 ในเดือนตุลาคม โดยปรับตัวขึ้น 4.4% ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นญี่ปุ่น ● หุ้นญี่ปุ่นฟื้นตัวจากความคาดหวังของการผ่อนคลายท่าทีของ FED รีวิว: ตลาดตราสารหนี้ไทยทรงตัว ● เราให้น้ำหนัก 5% กับตราสารหนี้ไทย (แทนที่จะเป็นตราสารหนี้ต่างประเทศ) ซึ่งทรงตัวในช่วงที่ผ่านมา ● วัตถุประสงค์หลักของการลงทุนในตราสารหนี้ เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากตลาดขาลง รีวิว: ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ให้ผลตอบแทน 3.1% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 25% กับสินค้าโภคภัณฑ์ ● ราคาสินค้าโภคภัณฑ์เป็นขาขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่เดือนเมษายน 2020 รีวิว: น้ำมันดิบ WTI ฟื้นตัวเล็กน้อย โดยราคาปิด ณ สิ้นเดือนตุลาคม อยู่ที่ 87 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล รีวิว: พลังงานสร้างผลตอบแทนดีที่สุด รองลงมาคือปศุสัตว์ ● การลดจำนวนโควต้าการผลิตของ OPEC+ ทำให้ราคาน้ำมันสูงขึ้น ● เราเห็นการฟื้นตัวของราคาปศุสัตว์ เช่นกัน รีวิว: ทองคำปรับตัวลงในปี 2022 โดยปรับตัวลง 2.3% ในเดือนตุลาคม ● เราให้น้ำหนัก 25% ในทองคำ ● ราคาทองคำอยู่ที่ 1,633 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อออนซ์ ● การฟื้นตัวของหุ้น ทำให้ราคาสินทรัพย์ปลอดภัย เช่น ทองคำ ถูกกดดัน รีวิว: ความอ่อนแอของผลตอบแทนจากการลงทุนในทองคำมีส่วนสำคัญจากการแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ● เสมือนว่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นคู่แลกเปลี่ยน โดยการแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำให้ราคาทองคำต่ำลงในรูปเหรียญสหรัฐฯ ● และหมายความว่า ผลตอบแทนของทองคำ ขึ้นอยู่กับเงินสกุลท้องถิ่นต่าง ๆ ด้วย รีวิว: มีเพียงเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และสวิสฟรังก์เท่านั้น ที่แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับราคาทองคำในปี 2022 ● ในเดือนตุลาคม เงินเยน และเงินหยวนสามารถซื้อทองคำได้น้อยลง (ค่าเงินอ่อนเมื่อเทียบกับทองคำ) ● ขณะที่เงินสกุลอื่น ๆ แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับทองคำ ● เงินเหรียญสหรัฐฯ 3 เดือนที่ผ่านมา แข็งค่าขึ้นกว่าเดิม 4.1% เมื่อเทียบกับทองคำ โดยแข็งกว่าปีก่อนหน้า 4.0% ● เงินปอนด์อังกฤษ 3 เดือนที่ผ่านมา แข็งค่าขึ้น 2.7% เมื่อเทียบกับทองคำ โดยแข็งกว่าปีก่อน 2.6% รีวิว: AWS ปรับตัวขึ้น 0.8% ในเดือนตุลาคม และทำผลงานเหนือกว่าพอร์ต 60/40 เมื่อนับตั้งแต่ก่อตั้ง ● ตั้งแต่ตั้งพอร์ต AWS ให้ผลตอบแทนสูงกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 4.8% ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2022 เดือนตุลาคม 2022: AWS สร้างผลตอบแทนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 2.7% ● รีวิวผลตอบแทนของสินทรัพย์ต่าง ๆ ที่เราให้น้ำหนัก 25% ● สินค้าโภคภัณฑ์: ทำผลงานได้ดี แต่ต่ำกว่าหุ้น ● พันธบัตร: ผลงานทรงตัว ● ทองคำ: สร้างผลตอบแทนเป็นลบ เพราะนักลงทุนชอบความเสี่ยงมากขึ้น รีวิว: AWS สร้างผลตอบแทนได้ดี ● AWS ให้ผลตอบแทนสูงกว่าพอร์ต 60/40 ในช่วงเวลาส่วนใหญ่ ● ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมาถือเป็นช่วงเวลาที่ท้าทาย รีวิว: AWS มีความผันผวนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 ● สัดส่วนการลงทุนในหุ้น 25-65% ช่วยลดความผันผวน ● ทองคำช่วยลดความผันผวนโดยรวมของพอร์ต เนื่องจากเป็นสินทรัพย์ที่ไม่มีความสัมพันธ์กับหุ้น รีวิว: AWS ขาดทุนน้อยกว่าพอร์ตการลงทุนดั้งเดิมแบบ 60/40 9 ครั้งจาก 10 ครั้งในช่วงที่ตลาดหุ้นปรับตัวลงมากที่สุด ● จุดเด่นสำคัญของ AWS คือ การจำกัดการขาดทุนเมื่อตลาดหุ้นโลกปรับตัวลง ● นับตั้งแต่จัดตั้ง AWS ขาดทุนน้อยกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 9 วันถ้านับจากใน 10 วันที่หุ้นโลกทำผลงานได้ย่ำแย่ที่สุด รีวิว: AWS ทำผลงานแย่กว่าพอร์ตการลงทุนดั้งเดิมแบบ 60/40 ในเดือนตุลาคม แต่ยังทำผลงานเหนือกว่าพอร์ต 60/40 ใน 59% ของเดือนทั้งหมด ● AWS สามารถสร้างผลตอบแทนเหนือกว่าพอร์ต 60/40 ใน 26 เดือนจาก 44 เดือน สรุป FVMR แต่ละภูมิภาค ● พื้นฐาน (Fundamentals): หุ้นสหรัฐฯ มีผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ROE (Return on Equity) สูงที่สุด ● มูลค่า (Valuation): หุ้นตลาดเกิดใหม่ และหุ้นยุโรปพัฒนาแล้วมี PE (Price-to-Earnings) ต่ำที่สุด และหุ้นญี่ปุ่นมี PB (Price-to-Book) ต่ำที่สุด ● แนวโน้ม (Momentum): หุ้นญี่ปุ่นสร้างผลตอบแทนได้ดีที่สุดในปีที่ผ่านมา ● ความเสี่ยง (Risk): หุ้นเอเชียแปซิฟิก และหุ้นญี่ปุ่น มีอัตราหนี้สินต่อทุน (Gearing) ต่ำที่สุด น้ำหนัก: เราให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้น 25% โดยแบ่งเป็น 5% ในแต่ละภูมิภาค ● เราไม่ได้เปลี่ยนน้ำหนักการลงทุน มุมมอง: ราคาน้ำมันเริ่มปรับตัวลงมา แต่เงินเฟ้อยังคงสูง ● น้ำมันเป็นแหล่งพลังงานหลักสำหรับการเกษตร การผลิต และการคมนาคม ● ราคาน้ำมันที่ปรับตัวลงมาอาจช่วยชะลออัตราเงินเฟ้อ หรือทำให้อัตราเงินเฟ้อลดลงได้ ● อย่างไรก็ดี เรากลับพบว่า อัตราเงินเฟ้อยังคงสูงขึ้น มุมมอง: อัตราเงินเฟ้อปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่อง ● ราคาสินค้าและบริการที่แพงขึ้น เมื่อถึงจุดหนึ่งจะทำให้ความต้องการลดลง ● ฐานเงินเฟ้อที่สูงขึ้น จะแสดงระดับอัตราเงินเฟ้อที่ลดลง ● ดังนั้น เงินเฟ้ออาจเข้าใกล้จุดสูงสุดแล้ว แม้ว่าธนาคารกลางยังไม่ได้เข้าแทรกแซง ผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล 3 เดือนปรับตัวสูงขึ้นเป็น 3.8% จาก 1.4% ในปีที่ผ่านมา ● อย่างไรก็ดี อัตราเงินเฟ้อปรับตัวสูงขึ้นเร็วกว่าผลตอบแทนพันธบัตร ● เราคาดหวังว่าธนาคารกลางจะยังคงขึ้นดอกเบี้ยต่อ เพราะดูเหมือนว่ายังชะลอเงินเฟ้อไม่ได้ มุมมอง: ประธาน FED ตั้งมั่นที่จะหยุดยั้งเงินเฟ้อ ● ประธาน FED ยืนยันว่าความเดือดร้อนเป็นสิ่งที่จะเกิดขึ้น เพื่อให้เงินเฟ้อชะลอตัวลง ● “ข้อมูลจากการประชุมครั้งที่ผ่านมาแสดงให้เห็นว่าเป้าหมายดอกเบี้ยนโยบายอาจจะสูงกว่าที่คาดการณ์ไว้แต่แรก” ● FED จะพิจารณาผลลัพธ์จากการขึ้นดอกเบี้ยติดต่อกันหลายครั้ง ● หลายคนคาดว่าคำพูดของประธาน FED ส่งสัญญาณว่า FED กำลังจะลดขนาดการขึ้นดอกเบี้ย มุมมอง: ตลาดมองว่าเงินเฟ้อจะเข้าสู่ภาวะปกติ ● อัตราเงินเฟ้อคาดการณ์สหรัฐฯ 10 ปี อยู่ที่ 2.5% ส่งสัญญาณว่าตลาดคาดว่า FED จะควบคุมเงินเฟ้อได้ ● ถ้าการคาดการณ์เงินเฟ้อต่ำกว่าความจริง จะทำให้ราคาหุ้น สินค้าโภคภัณฑ์ และทองคำปรับตัวขึ้น มุมมอง: ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) ดูเหมือนว่าจะสูงที่สุดแล้ว ● ถ้าราคาน้ำมันไม่ปรับตัวขึ้นอย่างมีนัยสำคัญแล้ว เราคาดว่า CPI น่าจะผ่านจุดที่สูงที่สุดแล้ว ● แต่ว่าราคาน้ำมันที่อยู่ในระดับสูง น่าจะทำให้ราคาอาหารและสินค้าอื่น ๆ ทรงตัวในระดับสูง ทำให้ไม่น่าจะเห็นการปรับตัวลงของ CPI อย่างรวดเร็วภายใน 2-3 เดือนหน้า มุมมอง: การขึ้นดอกเบี้ยในเดือนธันวาคมได้ถูกตลาดคาดการณ์ไว้แล้ว (priced in) ● ตลาดมั่นใจ 100% ว่า FED จะขึ้นดอกเบี้ยในการประชุมครั้งถัดไป ● โดยเชื่อมั่น 61.5% ว่าจะมีการขึ้นดอกเบี้ย 0.5% เข้าสู่ระดับ 4.25-4.50% มุมมอง: การขึ้นดอกเบี้ยครั้งนี้เป็นการปรับขึ้นที่เร็วที่สุดตั้งแต่ช่วง 1980 ● ในการขึ้นดอกเบี้ยปี 2004 ดอกเบี้ยนโยบายปรับขึ้นรวม 4.25% ● ในการขึ้นดอกเบี้ยครั้งนี้ ดอกเบี้ยปรับขึ้นแล้ว 3.75% ● ตลาดคาดว่าดอกเบี้ยจะเข้าสู่ระดับ 4.25% ในเดือนธันวาคม 2022 และปรับเพิ่มขึ้นอีกในเดือนกุมภาพันธ์ 2023 มุมมอง: ดอกเบี้ยไม่เคยขึ้นสู่ระดับ 3% ด้วยความเร็วขนาดนี้ ตั้งแต่ช่วง 1950 มุมมอง: ตั้งแต่เดือนมีนาคม ตลาดคาดว่า FED จะดำเนินนโยบายเข้มงวดมากขึ้น ● ตลาดเชื่อว่าดอกเบี้ยนโยบายจะสูงสุดในเดือนมิถุนายน 2023 ● FED กำลังสู้กับเงินเฟ้ออย่างเข้มข้น แม้ว่าจะต้องเสี่ยงกับเภาวะศรษฐกิจถดถอย มุมมอง: ตลาดมองว่า FED เข้มงวดด้านนโยบายการเงินมากที่สุด ● ดอกเบี้ยนโยบายที่ต่ำกว่าของธนาคารกลางยุโรป (ECB) และธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) ทำให้เชื่อว่าเงินยูโร และเงินเยนจะอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐฯ มุมมอง: การกลับทิศของกราฟอัตราส่วนผลตอบแทนพันธบัตร (inverted yield-curve) รุนแรงขึ้น ● ตั้งแต่ปี 1970 inverted yield-curve จะเกิดขึ้นก่อนภาวะเศรษฐกิจถดถอย ● หลังจากเกิด inverted yield curve จะเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยโดยเฉลี่ยภายใน 1 ปี (ประมาณกลางปี 2023) มุมมอง: จับตาดูความแตกต่างระหว่างผลตอบแทนพันธบัตร (yield spread) ● อัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่แตกต่างกันมากขึ้น แสดงให้เห็นว่านักลงทุนต้องการผลตอบแทนที่มากขึ้น ให้คุ้มค่ากับความเสี่ยง ● สหภาพยุโรปมี yield spread ใกล้เคียงกับในช่วง COVID แล้ว แต่ yield spread ในสหรัฐฯ ยังต่ำกว่า และปรับตัวต่ำลงเรื่อย ๆ มุมมอง: หุ้นถูกประเมินมูลค่าต่ำลงมา โดยมาจากราคาที่ต่ำลงเป็นสำคัญ ● มูลค่าหุ้นโลกที่ถูกประเมินไว้ปรับตัวต่ำลงมากว่าค่าเฉลี่ยในอดีตเล็กน้อย ● แม้ว่าอัตราการทำกำไรจะต่ำกว่าเดิม แต่ว่ายังไม่มีการปรับประมาณการลงอย่างมีนัยสำคัญ มุมมอง: ความเห็นตลาดยังมองว่ากำไรของบริษัทจะเพิ่มขึ้น ● เป็นสิ่งที่ดี ● นักวิเคราะห์เชื่อว่ากำไรของบริษัทจะเติบโต 7% ในปีหน้า และจะเติบโตมากขึ้นเป็นลำดับ มุมมอง: ความเห็นตลาดยังมองว่ากำไรของบริษัทจะเพิ่มขึ้น ● เป็นสิ่งที่ดี ● นักวิเคราะห์เชื่อว่ากำไรของบริษัทจะเติบโต 7% ในปีหน้า และจะเติบโตมากขึ้นเป็นลำดับ มุมมอง: สำหรับภูมิภาคอื่น ๆ คาดว่าอัตราการทำกำไรจะลดลงต่อเนื่อง 2 ปี ● แม้ว่าจะมีความเสี่ยงเศรษฐกิจถดถอย แต่ว่ายังมีการเติบโตของกำไร (การเติบโตไม่ติดลบ) ● นักวิเคราะห์ค่อนข้างกังวลกับบริษัทในสหรัฐฯ ทั้งนี้ นักลงทุนมักจะมองโลกในแง่ดีกว่าความเป็นจริง และไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงของตลาดทันท่วงที รีวิว: ECB อาจจะชะลอการขึ้นดอกเบี้ย ● เงินเฟ้อปรับตัวสูงที่สุดอีกครั้งในเดือนตุลาคม ที่ระดับ 10.7% ● หลังจากการขึ้นดอกเบี้ย 0.75% ในเดือนตุลาคม ECB ส่งสัญญาณว่าจะลดอัตราการขึ้นดอกเบี้ยลงในเดือนธันวาคม ● อย่างไรก็ดี ถ้า FED ยังขึ้นดอกเบี้ยต่อเนื่อง แต่ ECB ลดอัตราการขึ้นดอกเบี้ยลง ค่าเงินยูโรอาจอ่อนตัวลงอีก ทำให้เกิดภาวะขาดดุลทางการค้า มุมมอง: ยังไม่มีการดำเนินนโยบายการเงินแบบตึงตัว (QT) เท่าไรนัก ● ธนาคารกลางเริ่มให้พันธบัตรหมดอายุ ทำให้งบดุลไม่โตขึ้นแล้ว ● งบดุลของ BOJ โตขึ้นเล็กน้อยในเดือนตุลาคม มุมมอง: เราเชื่อว่าธนาคารกลางจะกลับทิศนโยบายในอนาคต ● ธนาคารกลางสื่อสารว่าจะควบคุมให้เงินเฟ้อลดลง และนักลงทุนดูเหมือนว่าจะเชื่อเช่นนั้น ● เราเชื่อว่าธนาคารกลาง และนักการเมืองพร้อมที่จะเปลี่ยนนโยบาย หากมีความเสียหายเกิดขึ้นกับเศรษฐกิจ ● และเราเชื่อว่าธนาคารกลางกำลังจะทำให้เกิดความเสียหายกับเศรษฐกิจ มุมมอง: stagflation จะเป็นสิ่งเลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้น ● ถ้าธนาคารกลางชะลอการเติบโตของเศรษฐกิจ แต่ไม่สามารถหยุดเงินเฟ้อได้ จะเกิดภาวะ stagflation ● ภาวะ stagflation ส่งผลเสียต่อหุ้นและพันธบัตร ● สินค้าโภคภัณฑ์มักสร้างผลตอบแทนได้ดีในช่วงเงินเฟ้อ และทองคำมักสร้างผลตอบแทนได้ดีในช่วง stagflation ● เนื่องจากยังมีความไม่แน่นอนสูง เราจำกัดการลงทุนในหุ้น มุมมอง: ตลาดหุ้นสหรัฐฯ มีบทบาทมากต่อตลาดการเงินโลก ● เงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นเหมือนสินทรัพย์ปลอดภัย ซึ่งการขึ้นดอกเบี้ยและการทำ QT จะทำให้ค่าเงินดอลลาร์แข็งขึ้นอีก ● เราเชื่อว่าตลาดหุ้นสหรัฐฯ มีความยืดหยุ่นต่อความเสี่ยงได้ดีกว่าตลาดหุ้นอื่น ● เรายังให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้นในแต่ละภูมิภาคอย่างน้อย 5% เนื่องจากเราเชื่อว่าตลาดหุ้นยังอ่อนแอ มุมมอง: ECB ก็ต้องสู้กับเงินเฟ้อเช่นกัน ● ราคาพลังงานที่สูงขึ้นจะกดดันการบริโภค และการผลิต ● เราคงน้ำหนัก 5% ในการลงทุนในตลาดหุ้นยุโรปกลุ่มพัฒนาแล้ว มุมมอง: การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ส่งผลลบต่อตลาดเกิดใหม่ ● การขึ้นดอกเบี้ยของ FED น่าจะทำให้เงินเหรียญสหรัฐฯ แข็งค่า สภาพคล่องในระบบลดลง และทำให้ตลาดเกิดใหม่ได้รับผลกระทบเชิงลบได้ ● เงินเหรียญสหรัฐฯ ถือเป็นสินทรัพย์ปลอดภัย (safe haven) ซึ่งนักลงทุนอาจใช้พักเงินในช่วงที่สถานการณ์โลกมีความไม่แน่นอนสูง มุมมอง: การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และเศรษฐกิจจีนยังเป็นข้อกังวล ● การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำให้การชำระหนี้ที่เป็นเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำได้ยากขึ้น เนื่องจากจะต้องใช้เงินสกุลท้องถิ่นมาแลกมากขึ้น ● เรายังไม่เชื่อมั่นว่าเศรษฐกิจจีนจะฟื้นตัว ● ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ได้ครองอำนาจอีกครั้ง และการควบคุมเงินเฟ้อของรัฐบาลอาจกดดันภาคเศรษฐกิจและรายได้ของบริษัท ตลอดจนนโยบายโควิดเป็นศูนย์ (zero-covid policy) ยังไม่ได้ถูกยกเลิก มุมมอง: หุ้นจีนยังคงกดดันผลตอบแทนหุ้นตลาดเกิดใหม่ และตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่น ● หุ้นจีนน่าจะยังคงกดดันผลตอบแทนหุ้นตลาดเกิดใหม่ และตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่นต่อไป ● เราให้น้ำหนัก 5% ในหุ้นตลาดเกิดใหม่ และ 5% ในหุ้นตลาดเอเชียไม่รวมญี่ปุ่น มุมมอง: เงินเยนน่าจะอ่อนค่าต่อไป ● BOJ ยังคงดอกเบี้ยนโยบายที่ระดับต่ำ และคาดหวังว่าอัตราเงินเฟ้อจะเพิ่มสูงขึ้น ● เราให้น้ำหนัก 5% ในตลาดหุ้นญี่ปุ่น มุมมอง: เราให้น้ำหนัก 25% ในพันธบัตร ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนน้ำหนักในการลงทุน มุมมอง: พันธบัตรยังเป็นการลงทุนที่ปลอดภัย แม้ว่าในปี 2022 จะให้ผลตอบแทนที่ค่อนข้างแย่ ● ในช่วงเศรษฐกิจถดถอย การลงทุนในสินทรัพย์ปลอดภัย เช่น พันธบัตรรัฐบาล มักให้ผลตอบแทนดี ● อย่างไรก็ดี ในช่วงที่เงินเฟ้อสูง อัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่ต่ำ อาจทำให้อัตราผลตอบแทนที่แท้จริง (real return) ติดลบ ● เราไม่ได้ใช้พันธบัตรในการเก็งกำไร เพื่อสร้างผลตอบแทน แต่เรามองว่าพันธบัตรสามารถป้องกันความเสี่ยงได้ดี มุมมอง: เราให้น้ำหนักสินค้าโภคภัณฑ์ที่ 25% ● เราไม่ได้มีการเปลี่ยนน้ำหนักในการลงทุน มุมมอง: แม้ว่าราคาก๊าซธรรมชาติจะกลับมาอยู่ในระดับเดียวกันเดือนมิถุนายน 2021 แต่ราคาน้ำมันยังคงสูง ● ราคาก๊าซธรรมชาติในยุโรปกลับเข้าสู่ระดับปกติ เนื่องจากมีสำรองเพียงพอ และสภาพภูมิอากาศไม่รุนแรงนัก มุมมอง: ตลาดเชื่อว่าราคาก๊าซธรรมชาติจะกลับมาแพงขึ้น ● การพึ่งพิงพลังงานจากรัสเซียจะส่งผลกระทบต่อตลาดพลังงานในยุโรป ● ถ้าอากาศหนาวเย็นลง ปริมาณก๊าซสำรองอาจลดลงอย่างรวดเร็ว ทำให้ราคาปรับตัวขึ้น มุมมอง: ปัจจัยพื้นฐานยังสนับสนุนราคาน้ำมัน ● กลุ่ม OPEC+ ผลิตได้ไม่เป็นไปตามเป้า และมีการลดกำลังการผลิต ทำให้ราคาน้ำมันน่าจะอยู่ในระดับสูงต่อไป ● สงครามในยูเครนน่าจะก่อให้เกิดปัญหาด้านอุปทานต่ออีกระยะหนึ่ง ● ราคาพลังงานน่าจะอยู่ในระดับสูงต่อไป จากการลงทุนที่ไม่เพียงพอในโครงการใหม่ ๆ มุมมอง: อุปทานสำหรับสินค้าทางการเกษตรอาจตึงตัวมากขึ้นอีก ● นอกจากพลังงานแล้ว รัสเซียยังเป็นผู้ส่งออกโลหะอุตสาหกรรมหลายชนิด รวมถึงรัสเซีย และยูเครนยังเป็นผู้ส่งออกสำคัญของสินค้าทางการเกษตร ● ลานีญ่า (La Nina) อาจทำให้อุปทานสินค้าเกษตร เช่น ข้าวโพด ถั่วเหลือง และแป้ง ลดลง ซึ่งลานีญ่านี้เองทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไป เกิดพายุรุนแรง และความแห้งแล้ง ซึ่งผลกระทบอาจแตกต่างกันตามภูมิภาค มุมมอง: ราคาพลังงานที่สูงขึ้น ส่งผลต่อราคาอาหาร แต่ราคาธัญพืชฟื้นตัวได้เล็กน้อยในเดือนกันยายน ● ก๊าซธรรมชาติใช้ในการทำปุ๋ย และราคาที่เพิ่มขึ้นของปุ๋ยทำให้เมล็ดพันธุ์ต้องปรับราคาขึ้นตามไปด้วย ● เมื่อราคาก๊าซธรรมชาติต่ำลง บริษัทผลิตปุ๋ยอาจกลับมาผลิตปุ๋ยอีกครั้ง ● ข้าวโพดถูกใช้เป็นอาหารของสัตว์ ซึ่งราคาข้าวโพดที่แพงขึ้นทำให้ราคาเนื้อสัตว์ปรับขึ้นตาม มุมมอง: ดัชนีราคาอาหารโลกปรับขึ้นสูงที่สุดในเดือนมีนาคม 2022 ที่ 160 และปัจจุบันอยู่ที่ 136 ในเดือนกันยายน 2022 ● การห้ามการส่งออกอาหารของบางประเทศทำให้เกิดการขาดแคลนอาหารและทำให้ราคาอาหารสูงขึ้น ● ราคาน้ำมันพืชและธัญพืชที่ปรับตัวลงทำให้ดัชนีราคาอาหารปรับตัวลง ● ราคาเนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์จากนมอยู่ในระดับเดียวกับเดือนมีนาคม 2022 มุมมอง: ราคาสินค้าโภคภัณฑ์น่าจะยังปรับขึ้นต่อได้ ● การฟื้นตัวของความต้องการ (อาหารและพลังงาน) ภาวะเงินเฟ้อ และปัญหาห่วงโซ่อุปทาน ทั้งที่เกี่ยวและไม่เกี่ยวกับสงครามจะผลักดันให้สินค้าโภคภัณฑ์ปรับตัวสูงขึ้น ● การเปิดเมืองอีกครั้งของจีนจะทำให้ความต้องการสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● ถ้าเกิดภาวะ stagflation คาดว่าสินค้าโภคภัณฑ์จะสร้างผลตอบแทนได้ดี มุมมอง: เราให้น้ำหนักทองคำที่ 25% ● เราไม่ได้เปลี่ยนแปลงน้ำหนักการลงทุน มุมมอง: ทองคำจะเป็นเหมือนหลักประกันป้องกันความเสี่ยง ● สงครามในยูเครนทำให้เกิดความไม่แน่นอน ผลักดันความคาดหวังอัตราเงินเฟ้อ ทำให้สินทรัพย์ปลอดภัย เช่น ทองคำ ได้รับความสนใจมากขึ้น ● อย่างไรก็ดี ความคาดหวังการขึ้นดอกเบี้ย อาจกดดันราคาทองคำ ● โดยทั่วไป ทองคำจะช่วยป้องกันความเสี่ยงในช่วงตลาดขาลงได้ ความเสี่ยง: เงินเฟ้อถูกควบคุมได้อย่างรวดเร็ว ● ถ้าธนาคารกลางสร้างความแปลกใจให้กับตลาดด้วยการขึ้นดอกเบี้ยเร็วและแรง พร้อมกับการดึงสภาพคล่องออกจากตลาด อาจจะทำให้ตลาดหุ้นปรับตัวลงอย่างรุนแรง ● เราไม่ได้ให้น้ำหนักการลงทุนในหุ้นมาก หากธนาคารกลางปรับเปลี่ยนนโยบาย และหุ้นปรับตัวสูงขึ้น อาจทำให้เราเสียโอกาสบ้าง ● เศรษฐกิจจีนที่อ่อนแออาจลดความต้องการของสินค้าโภคภัณฑ์ กดดันทำให้ราคาต่ำลงได้ ● ราคาสินค้าโภคภัณฑ์อื่นอาจปรับตัวลงพร้อมกับราคาพลังงาน เนื่องจากพลังงานเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิต ข้อสรุปที่สำคัญ ● AWS สร้างผลตอบแทนต่ำกว่าพอร์ต 60/40 อยู่ 2.7% ในเดือนตุลาคม 2022 ● ธนาคารกลางกำลังขึ้นดอกเบี้ยในช่วงที่เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอย เพื่อชะลออัตราเงินเฟ้อ โดย stagflation เป็นสิ่งที่เลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้นได้ ● ความต้องการสินค้าจำเป็น (อาหารและพลังงาน) ภาวะเงินเฟ้อ และปัญหาห่วงโซ่อุปทานจะทำใหราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น ● พันธบัตรและทองคำใช้ในการลดความเสี่ยง ● ความเสี่ยง: เงินเฟ้อควบคุมได้ นโยบายการเงินทำให้ตลาดหุ้นปรับลงอย่างรุนแรง และเศรษฐกิจจีนที่อ่อนแอ