dr.wisit-quarter3

มุมมองไตรมาส 3 ปี 2016 (27 มิ.ย. – 1 ก.ค. 2016)

    • อุตสาหกรรมที่สามารถสร้างผลตอบแทนได้ดีในช่วงครึ่งแรกของปี 2016 คือ กลุ่มถั่วเหลือง น้ำมัน ทองคำ และตลาดหุ้นไทย
    • SET Index อยู่ในระดับ 1350-1440 ในไตรมาส 2 ปี 2016 เป็นการซื้อขายในกรอบกว้างและหมุนไปสู่กลุ่ม Deep Valuation และหุ้นกลุ่มปันผลสูง

  • คาดในช่วงครึ่งหลังของปี จะดีกว่าครึ่งแรกของปี 2016 เป้าหมาย SET Index ปี 2016 อยู่ที่ระดับ 1500-1550 และมีการซื้อขายอยู่ในกรอบ 1350-1550
  • การที่ SET ปรับตัวลงแรงเป็นโอกาสซื้อหุ้น
  • ระดับเงินสดที่หมุนเวียนในประเทศนำไปสู่ปรากฎการณ์ “ความต้องการผลตอบแทน” (Hungry for Yields) (อ้างอิงจากผลต่างระหว่างอัตราเงินปันผลของ SET และเงินฝากระยะ 1 ปี และปริมาณเงิน M2 ที่เพิ่มขึ้น) ก่อให้เกิด Upside Surprise ที่ผิดปกติ
  • การปรับประมาณการผลประกอบการบริษัทจดทะเบียนใน SET เริ่มคงที่
  • อัตราดอกเบี้ยติดลบและอยู่ในระดับต่ำให้เงินทุนไหลจากตราสารหนี้ไปสู่ตราสารทุน
  • เงินดอลลาร์ที่มีกรอบการซื้อขายที่มีเสถียรภาพเป็นปัจจัยบวกต่อตลาด Emerging Market

Key Themes

“Overweight : กลุ่มเกษตร พลังงาน การบริโภค ภายในประเทศ รับเหมาก่อสร้างหลัก และ กลุ่มรับเหมาก่อสร้างงานฐานราก”

  1. ปันผลสูง : กลุ่มอสังหาริมทรัพย์ และกลุ่มสาธารณูปโภค
  2. ลานีญา : กลุ่มถั่วเหลือง
  3. การก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน
  4. กลุ่มที่ยัง Laggard : ถ่านหิน
  5. กลุ่มค้าปลีกและภาคการบริโภคใน AEC : จากการฟื้นตัวของภาคเกษตรกรรม
  6. หุ้นที่จะ Outperform : PE ต่ำ, อัตราเงินปันผลสูง, PB ต่ำ

Key Call

  1. Fed กลับมาเดินตามแนวทางปี 2015 (คาดขึ้นดอกเบี้ยครั้งเดียวในเดือน ธ.คธ 2016)
  2. ราคาถ่านหินจะตามราคาน้ำมัน โดยจะปรับตัวตามด้วย lag time 6-12 เดือน
  3. ดอลลาร์ ในครึ่งปีหลังมีเสถียรภาพ (โดยดอลลาร์ถูกขับเคลื่อนโดยอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงไม่ใช่การคาดการ์ต่อการขึ้นดอกเบี้ยของ Fed)

ธนาคารกลางอัดฉีดเม็ดเงินผ่านนโยบายการคลังสามารถทำได้โดย

  1. การใช้จ่ายด้านโครงสร้างพื้นฐานโดยตรง
  2. ธนาคารกลางอัดฉีดเม็ดเงินผ่านนโยบายการคลังให้รัฐบาล โดยผ่านการออกพันธบัตรระยะยาวมากๆให้ และถือจนครบอายุ
  3. ธนาคารกลางให้ธนาคารพาณิชย์กู้ในอัตราดอกเบี้ยติดลบ (เหมือน TLTRO II ของธนาคารกลางยุโรป)

นี่จะเป็นปัจจัยให้เส้นอัตราผลตอบแทนหรือ Yield Curve มีความชันขึ้น
การลดลงของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่แท้จริงก่อให้เกิดการโยกย้ายเงินจากพันธบัตรเข้าหุ้น

Positive Factors

  1. การคาดการณ์กำไรต่อหุ้นมีเสถียรภาพมากขึ้นที่ 92.70 บาท ในปี 2016 และ 105.70 ในปี 2017
  2. แนวโน้มเชิงบวกของรายได้ภาคการเกษตร
  3. สถานะของการถือหุ้นของต่างชาติมีน้อย และพร้อมที่จะกลับมาลงทุน
  4. สภาพแวดล้อมภายนอกที่ดีขึ้น
    4.1) อัตราดอกเบี้ยติดลบในยุโรปและญี่ปุ่นจะทำให้แรงซื้อในตลาดพันธบัตรไทย
    4.2) ดอลลาร์เริ่มมีเสถียรภาพในระดับที่จำกัด
  5. ราคาน้ำมันมี Upside
  6. อัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุ 10 ปี ต่ำกว่าปีที่ผ่านมา

Negative Factors

  1. ความไม่แน่นอนทางการเมืองของทั่วโลก
  2. การส่งออกและการลงทุนภาคเอกชนยังคงอ่อนแอ
  3. เยลเลนยังส่งสัญญาณการปรับขึ้นดอกเบี้ย
  4. เกิด Bond Shock ถ้าอัตราผลตอบแทนพันธบัตรปรับตัวสูงขึ้นเร็วเกินไป

ที่มาบทความ : https://www.facebook.com/460106474094906/photos/a.460987304006823.1073741828.460106474094906/866609633444586/?type=3&theater