- คลังความรู้ เมื่อธนาคารกลางทยอยขึ้นดอกเบี้ยนโยบายเพื่อต่อสู้กับภาวะเงินเฟ้อ ทำให้ตลาดหุ้นและตลาดพันธบัตรปรับฐานลงอย่างมีนัยสำคัญ โดยเรามองว่า ถึงเวลาแล้วที่นักลงทุนควรมองไปที่สินทรัพย์ทางเลือกอื่น ๆ นอกเหนือจากหุ้นและพันธบัตร เพื่อสร้างพอร์ตโฟลิโอการลงทุนที่สมดุลขึ้น โดยเฉพาะการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ และกองทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ (REITs) ซึ่งเราเชื่อว่าจะให้ผลตอบแทนที่สูงกว่า และมีความผันผวนน้อยกว่า และช่วยป้องกันความเสี่ยงจากภาวะเงินเฟ้อได้26 ม.ค. 66 16:05 น.
- คลังความรู้ เราเชื่อว่าเทรนด์การเติบโตของเซมิคอนดักเตอร์ (chips) และรถยนต์ไฟฟ้า (EV) กอปรกับปัจจัยพื้นฐานที่แข็งแกร่งจะเป็นตัวผลักดันให้ตลาดหุ้นไต้หวัน และเกาหลีใต้สร้างผลตอบแทนที่ดี ให้กับนักลงทุน โดยที่ในไตรมาสล่าสุด ทั้งสองตลาดเริ่มแสดงสัญญาณที่เป็นบวกกว่าตลาดอื่น ๆ ซึ่งการแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ จะช่วยส่งเสริมให้หุ้นในกลุ่มประเทศส่งออกเหล่านีสร้างรายได้ได้มากขึ้น เมื่อพิจารณาควบคู่กับมูลค่าของหุ้นที่ยังน่าสนใจ เราจึงเชื่อว่าในระยะยาวน่าจะสร้างผลตอบแทนได้ดี08 ธ.ค. 65 09:44 น.
- คลังความรู้ ในช่วงต้นปี หุ้นคุณค่า (value stock) ถือว่าทำผลงานได้ค่อนข้างดี เมื่อเทียบกับหุ้นประเภทอื่น ๆ อย่างไรก็ดี ตั้งแต่เดือนมิถุนายนที่ผ่านมา เราเริ่มเห็นว่า valuation spread ส่งสัญญาณว่าราคาหุ้น value stock ระหว่างกลุ่ม deeper-valued และ higher-quality ไม่ต่างกันมากนักแล้ว หุ้นคุณค่าแบบไหนยังน่าสนใจลองติดตามผ่านบทความนี้กัน10 พ.ย. 65 16:03 น.
- คลังความรู้ ตั้งแต่ต้นปี 2022 การปรับตัวลงของตลาดหุ้นสร้างความเสียหายให้กับหุ้นขนาดจิ๋ว (microcap) อย่างมีนัยสำคัญ ดัชนี Russell Microcap Index (กลุ่มหุ้นขนาดจิ๋วที่มีมูลค่าตามราคาตลาดระหว่าง 30 ถึง 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ) ปรับตัวลงประมาณ 25% ในช่วง 6 เดือนแรกของปี 2022 อย่างไรก็ดี เรามองว่าหุ้น microcap ของบริษัทที่มีคุณภาพดี สะท้อนจากงบการเงินที่แข็งแกร่ง ภายใต้การบริหารจัดการที่ดี น่าจะสามารถฟื้นตัวได้ และสร้างผลตอบแทนเป็นที่น่าพอใจในระยะยาว25 ส.ค. 65 15:34 น.
- คลังความรู้ ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าเงินเฟ้อเป็นปัจจัยกดดันทุกภาคส่วน ทั้งระดับประชาชน ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) จนถึงธุรกิจขนาดใหญ่ กล่าวคือ ในระดับรายย่อย แรงงานจะรู้สึกว่าเงินเดือนที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี ถูกนำมาชดเขยกับราคาสินค้าและบริการที่แพงขึ้น ในขณะเดียวกัน ผู้ประกอบธุรกิจก็จะรู้สึกว่าต้นทุนของวัตถุดิบที่นำมาผลิตสินค้าและบริการก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน และถ้าไม่สามารถเพิ่มราคาสินค้าและบริการได้ในระดับที่เท่ากัน จะกดดันให้อัตรากำไร และผลประกอบการในอนาคต ซึ่งหากเราพิจารณาสถานการณ์เงินเฟ้อในปัจจุบันเทียบกับในอดีต เราพบว่า เงินเฟ้อในปัจจุบันเป็นปัญหาที่ “แรงกว่า” “น่ากังวลกว่า” และ “กระจุกตัวมากกว่า” เมื่อเทียบกับภาวะเงินเฟ้อในอดีต11 ส.ค. 65 13:00 น.
- คลังความรู้ ธนาคารกลางทั่วโลกมีท่าทีเข้มงวดต่อนโยบายการเงินมากขึ้น โดยทุกธนาคารกลายภายใต้การวิเคราะห์ของเรา ยกเว้น ธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) และธนาคารกลางจีน (PBOC) ล้วนแล้วแต่มีมุมมองที่ต้องการปรับดอกเบี้ยนโยบายขึ้นในระยะต่อไป เพื่อต่อสู้กับอัตราเงินเฟ้อที่เร่งตัวสูงขึ้น ตลาดแรงงานที่ตึงตัว จากค่าแรงที่เพิ่มขึ้น ท่ามกลางความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยเป็นความท้าทายสำคัญ19 ก.ค. 65 14:44 น.