- ส่องบทวิเคราะห์เงินเฟ้อ เศรษฐกิจและมุมมองการลงทุนในปี 2022 โดย Franklin Templeton การฟื้นตัวของเศรษฐกิจอย่างแข็งแกร่งเป็นเหตุให้ราคาสินค้า และบริการปรับตัวขึ้น และเกิดเป็นภาวะเงินเฟ้อในที่สุด อย่างไรก็ดี เรายังเชื่อว่าเศรษฐกิจจะยังเติบโตได้ต่อเนื่องท่ามกลางภาวะเงินเฟ้อ ซึ่งในรายงานฉบับนี้ เราจะวิเคราะห์ถึงบทบาทของเงินเฟ้อที่เร่งตัวสูงขึ้น ภาพเศรษฐกิจภาพใหญ่ และมุมมองการลงทุนของเราในปี 2022 ดังนี้27 ม.ค. 65 11:00 น.
- 2022 อาจผันผวนแต่หุ้นยังคงน่าสนใจ ในปี 2022 เราเชื่อว่าตลาดหุ้นจะมีความผันผวนมากขึ้น และสร้างผลตอบแทนลดลง เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า จากการลดการกระตุ้นเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนผ่านด้านโยบายของธนาคารกลางสหรัฐฯ อย่างไรก็ดี เรามองว่าการเปลี่ยนผ่านดังกล่าวเป็นเรื่องที่ดีและตลาดหุ้นยังมีความน่าสนใจอยู่มาก19 ม.ค. 65 15:40 น.
- คลังความรู้ FINNOMENA x Franklin Templeton I เจาะลึกโอกาสการลงทุนระหว่าง 2 โลก ตลาดเกิดใหม่และตลาดพัฒนาแล้ว พบกับ Session พิเศษ เจาะลึกโอกาสการลงทุนระหว่าง 2 โลก ตลาดเกิดใหม่และตลาดพัฒนาแล้ว ผ่านมุมมองของ FINNOMENA และ Franklin Templeton ในเวอร์ชั่นภาษาไทย โดยจิรัฐิติ ขันติพะโล และอธินชา ชินวรนนท์ Portfolio Specialist FINNOMENA15 ม.ค. 65 10:13 น.
- จัดพอร์ตอย่างไรในวันที่สภาพคล่องลดลง ในปี 2022 เราคาดการณ์ว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ จะทยอยลดเงินอัดฉีดสภาพคล่องต่อเนื่องตามที่ประกาศไว้ และจะค่อย ๆ ขึ้นดอกเบี้ย เพื่อชะลออัตราเงินเฟ้อ และลดความร้อนแรงของเศรษฐกิจ ซึ่งสภาพคล่องที่ลดลง และการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายจะเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการเคลื่อนไหวของตลาดหุ้นในปี 202213 ม.ค. 65 13:53 น.
- ปี 2022 ตั้งรับหรือเติบโตเชิงรับ ท่ามกลางเศรษฐกิจที่มีความไม่แน่นอนสูง ตลาดหุ้นและตลาดการเงินเคลื่อนไหวอย่างผันผวน ตามสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว เรามองว่าสถานการณ์เช่นนี้จะคงอยู่ต่อไปในปี 2022 นักลงทุนจึงควรพิจารณาลงทุนในสินทรัพย์ ที่สร้างกระแสรายได้ที่มีความแน่นอน และค่อนข้างสม่ำเสมอในอนาคต รายละเอียดเชิงลึกจะเป็นอย่างไร ติดตามได้ผ่านบทความ05 ม.ค. 65 12:00 น.
- คลังความรู้ FINNOMENA x Franklin Templeton Insights I เจาะลึกโอกาสการลงทุนระหว่าง 2 โลก ตลาดเกิดใหม่และตลาดพัฒนาแล้ว พบกับ Session พิเศษ เจาะลึกโอกาสการลงทุนระหว่าง 2 โลก ตลาดเกิดใหม่และตลาดพัฒนาแล้ว โดย Subash Pillai, Managing Director, Regional Head of Client Investment Solutions - APAC, Franklin Templeton Investment Solutions25 ธ.ค. 64 15:06 น.
- ว่ากันด้วยเรื่องการลด QE กับตลาดเกิดใหม่ ส่งผลหรือไม่? อย่างไร? นักลงทุนในตลาดเกิดใหม่ เริ่มกังวลมากขึ้น เมื่อธนาคารกลางสหรัฐฯ เริ่มส่งสัญญาณลดการกระตุ้นทางเศรษฐกิจ ชะลอการซื้อสินทรัพย์ (QE tapering) และในที่สุดน่าจะนำไปสู่การขึ้นดอกเบี้ย (rate hike) อย่างไรก็ดี เรามองว่า เหตุการณ์ที่ตลาดเกิดใหม่จะปรับฐานรุนแรงคล้ายสิ่งที่เกิดขึ้นหลัง QE tapering ในปี 2013 และ 2014 นั้นมีโอกาสเกิดขึ้นน้อย14 ธ.ค. 64 13:34 น.
- เจาะมุมมองกลุ่มอสังหาฯ เงินเฟ้อส่งผลหรือไม่? กลุ่มไหนได้ประโยชน์ ภายหลังจากการแพร่ระบาดอย่างรุนแรงของ COVID-19 ในปี 2020 ต่อเนื่องมาจนถึงปี 2021 นอกจากอัตราเงินเฟ้อที่ค่อย ๆ เร่งตัวสูงขึ้น ตามการกระตุ้นเศรษฐกิจแล้ว สิ่งหนึ่งที่ขยับตัวขึ้นเร็วไม่แพ้กัน คือต้นทุนการก่อสร้าง ในบทความนี้เราจะวิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ทำให้ต้นทุนการก่อสร้างปรับตัวขึ้น พร้อมสรุปกลุ่มธุรกิจที่น่าจะได้ประโยชน์จากแนวโน้มดังกล่าว01 ธ.ค. 64 16:00 น.