ใกล้ช่วงสิ้นปีแบบนี้ วางแผนประหยัดภาษีกันหรือยัง? ใครเป็นนักลงทุนสาย Asset Allocation ที่อยากกระจายความเสี่ยงลงทุนในหลากหลายสินทรัพย์ วันนี้เราคัดกองทุน SSF และ RMF สำหรับนักลงทุนสายจัดพอร์ตกระจายความเสี่ยงมาให้โดยเฉพาะ จะมีกองไหนบ้าง แต่ละกองมีจุดเด่นอะไร ลองมาดูกัน
“Asset Allocation” เป็นสไตล์การลงทุนที่เน้นกระจายลงทุนไปในสินทรัพย์หลายประเภททั้งในและต่างประเทศ เช่น ตราสารหนี้ หุ้น อสังหาริมทรัพย์ เงินสด ฯลฯ เพื่อลดความเสี่ยงและความผันผวนของพอร์ตการลงทุน โดยแบ่งสัดส่วนลงทุนในแต่ละสินทรัพย์ตามความเสี่ยงที่แต่ละคนรับได้
ลงทุนในหุ้นสามัญทั่วโลกของบริษัทที่มีส่วนร่วมกับการเปลี่ยนแปลงด้านการค้าและเศรษฐกิจระหว่างประเทศของโลกในอนาคต
เน้นลงทุนในหน่วยลงทุนของ Capital Group New Perspective Fund, Class P (USD)โดยเฉลี่ยในรอบปีบัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: KKP GNP-H-SSF Fund Fact Sheet วันที่ 30 มิถุนายน 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
https://media.kkpfg.com/document/2021/Oct/AM%20Sum%20KKP%20GNP-H-SSF.pdf
กองทุนรวมตราสารหนี้ระยะกลางถึงยาวคุณภาพดี ลงทุนกระจายทั้งในตราสารหนี้ภาครัฐ ภาคเอกชน ทั้งไทยและต่างประเทศ
เน้นลงทุนในตราสารภาครัฐ และตราสารหนี้ที่ออกโดยธนาคารพาณิชย์ หรือบริษัทเอกชน และ/หรือ เงินฝาก ทั้งในและต่างประเทศ โดยกองทุนจะลงทุนในต่างประเทศไม่เกิน 79% ของ NAV
ที่มา: KKP ACT FIXED-SSF Fund Fact Sheet วันที่ 31 กรกฎาคม 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
https://media.kkpfg.com/document/2020/Nov/AM%20FFS%20KKP%20ACT%20FIXED-SSF.pdf
กองทุนรวมตราสารหนี้ทั่วโลก ลงทุนแบบเชิงรุก เพื่อสร้างผลตอบแทนเป็นรายได้ที่สม่ำเสมอ
เน้นลงทุนในหน่วยลงทุนของ PIMCO GIS Income Fund (Class I) โดยเฉลี่ยในรอบปีบัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: UGIS-SSF Fund Fact Sheet วันที่ 30 มิถุนายน 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
https://www.uobam.co.th/srcm/fund_mapping/mmh7gun7l/gu/n7/o0x0/UGISSSF_Factsheet_20230630.pdf
กองทุนรวมกลุ่ม REITs และกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ รวมถึงโครงสร้างพื้นฐานไทย และต่างประเทศ
เน้นลงทุนทั้งในและต่างประเทศ ในหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ (REITs) กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน รวมถึง Exchange Traded Fund (ETF) และ/หรือหน่วยของกองทุน private equity ที่เน้นลงทุนในหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์หรือทรัสต์เพื่อการลงทุน ในอสังหาริมทรัพย์(REITs) หรือกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน หรือเน้นลงทุนในตราสารที่เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์หรือโครงสร้างพื้นฐาน และ/หรือตราสารของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์/ตรา สารของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน โดยเฉลี่ยในรอบปีบัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: PRINCIPAL iPROPEN-SSF Fund Fact Sheet วันที่ 31 กรกฎาคม 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
ลงทุนในหุ้นที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในประเทศเวียดนาม ที่ดำเนินธุรกิจหรือได้รับผลประโยชน์จากการเติบโตทางเศรษฐกิจ หรือมีทรัพย์สินส่วนใหญ่มาจากการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศเวียดนาม
เน้นลงทุนในกองทุนเปิดเค เวียดนาม หุ้นทุน (กองทุนหลัก) โดยเฉลี่ยในรอบปีบัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: K-VIETNAM-SSF Fund Fact Sheet วันที่ 31 กรกฎาคม 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
https://www.kasikornasset.com/FundDocument/Fund_Fact_Sheet/K-VIETNAM-SSF.pdf
ลงทุนในหุ้นของบริษัทที่จดทะเบียนในประเทศภูมิภาคเอเชีย แต่ไม่รวมประเทศญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
เน้นลงทุนในหน่วยลงทุนของกองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นเอเชีย (B-ASIA) (กองทุนหลัก) โดยเฉลี่ยในรอบปี บัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: B-ASIASSF Fund Fact Sheet วันที่ 30 มิถุนายน 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
กองทุนผสม มีในสัดส่วนลงทุนในหุ้น 35% ตราสารหนี้ 50% อื่น ๆ 15% โดยประมาณ
เน้นลงทุนในหน่วยลงทุนของ BGF Global Multi-Asset Income Fund โดยเฉลี่ยในรอบปีบัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: KKP INCOME-H-SSF Fund Fact Sheet วันที่ 30 มิถุนายน 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
https://media.kkpfg.com/document/2022/Jan/AM%20Sum%20KKP%20INCOME-H-SSF.pdf
ลงทุนในหุ้นสามัญทั่วโลกของบริษัทที่มีส่วนร่วมกับการเปลี่ยนแปลงด้านการค้าและเศรษฐกิจระหว่างประเทศของโลกในอนาคต
เน้นลงทุนในหน่วยลงทุนของ Capital Group New Perspective Fund, Class P (USD)โดยเฉลี่ยในรอบปีบัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: KKP GNP RMF-H Fund Fact Sheet วันที่ 30 มิถุนายน 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
https://secdocumentstorage.blob.core.windows.net/fundfactsheet/M0366_2561.pdf
ลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลหรือหุ้นกู้เอกชนที่มีแนวโน้มเติบโตสูง และมีเสถียรภาพทางการเงินที่ดี
เน้นการลงทุนในเงินฝาก และ/หรือตราสารหนี้ ของบริษัทเอกชนที่มีปัจจัยพื้นฐานดี มีแนวโน้มการเติบโตสูง และมีเสถียรภาพทางการเงินดี หรือของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ นิติบุคคลที่มี กฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ เป็นผู้ออก ผู้รับรอง ผู้อาวัล ผู้สลักหลัง ผู้ค้ำประกัน หรือคู่สัญญา เพื่อให้ผู้ถือหน่วยได้รับผลตอบแทนที่ดี
ที่มา: KKP INRMF Fund Fact Sheet วันที่ 30 มิถุนายน 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
https://media.kkpfg.com/document/2020/Nov/AM%20Sum%20KKP%20INRMF.pdf
กองทุนรวมตราสารหนี้ทั่วโลก ลงทุนแบบเชิงรุก เพื่อสร้างผลตอบแทนเป็นรายได้ที่สม่ำเสมอ
เน้นลงทุนในหน่วยลงทุนของ PIMCO GIS Income Fund (Class I) โดยเฉลี่ยในรอบปีบัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: UGISRMF Fund Fact Sheet วันที่ 30 มิถุนายน 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
https://www.uobam.co.th/srcm/fund_mapping/mmh7gumsd/gu/ms/o0x0/UGISRMF_Factsheet_20230630.pdf
กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทยและต่างประเทศ บริหารแบบ Active เพื่อเป้าหมายการสร้างผลตอบแทนทั้งปันผล และส่วนต่างราคา (Capital Gain) ที่ดีในระยะยาว
ลงทุนในทรัพย์สินทางเลือก ได้แก่ หน่วย Property/ REITs/ หน่วย Infra/ ETF ที่เน้นลงทุนในหน่วย Property/ REITs/ หน่วย Infra โดยเฉลี่ยในรอบปีบัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: B-IR-FOFRMF Fund Fact Sheet วันที่ 30 มิถุนายน 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
ลงทุนในหุ้นที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในประเทศเวียดนาม ที่ดำเนินธุรกิจหรือได้รับผลประโยชน์จากการเติบโตทางเศรษฐกิจ หรือมีทรัพย์สินส่วนใหญ่มาจากการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศเวียดนาม
เน้นลงทุนในกองทุนเปิดเค เวียดนาม หุ้นทุน (กองทุนหลัก) โดยเฉลี่ยในรอบปีบัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: KVIETNAMRMF Fund Fact Sheet วันที่ 31 กรกฎาคม 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
https://www.kasikornasset.com/FundDocument/Fund_Fact_Sheet/KVIETNAMRMF.pdf
ลงทุนในหุ้นของบริษัทที่จดทะเบียนในประเทศภูมิภาคเอเชีย แต่ไม่รวมประเทศญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
เน้นลงทุนในหน่วยลงทุนของกองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นเอเชีย (B-ASIA) (กองทุนหลัก) โดยเฉลี่ยในรอบปี บัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: B-ASIARMF Fund Fact Sheet วันที่ 31 พฤษภาคม 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
กองทุนรวมผสมทั่วโลก มุ่งเน้นหาผลตอบแทนสูงสุดให้กับกองทุน ลงทุนในตราสารหลากหลายประเภททั่วโลก
ลงทุนในกองทุน BGF Global Allocation Fund A2 USD (กองทุนหลัก) โดยเฉลี่ยในรอบปีบัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: KGARMF Fund Fact Sheet วันที่ 30 มิถุนายน 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
https://www.kasikornasset.com/FundDocument/Fund_Fact_Sheet/KGARMF.pdf
“มาใช้เงินลงทุนทุกบาททุกสตางค์อย่างคุ้มค่ากัน ด้วยการลงทุนผ่านกองทุนลดหย่อนภาษี SSF & RMF ทั้งประหยัดภาษี ทั้งสร้างให้พอร์ตโตในระยะยาว ให้เราเกษียณอย่างมีคุณภาพนะครับ”
– ชยนนท์ รักกาญจนันท์, CEO FINNOMENA Funds
คำเตือน
ผู้ลงทุนควรทำความเข้าใจลักษณะสินค้า เงื่อนไข ผลตอบแทน ความเสี่ยงและศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ทางภาษีที่ระบุไว้ในคู่มือการลงทุนในกองทุนรวม SSF และ RMF กรณีไม่ได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขภาษี จะไม่ได้สิทธิประโยชน์ตามเงื่อนไขกองทุน | การลงทุนในกองทุนรวมไม่ใช่การฝากเงิน | ผู้ลงทุนอาจมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากการป้องกันความเสี่ยงขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้จัดการกองทุน | บางกองทุนมีการลงทุนกระจุกตัวในประเทศที่ลงทุน จึงมีความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนอาจสูญเสียเงินลงทุนจำนวนมาก ผู้ลงทุนจึงควรพิจารณาการกระจายความเสี่ยงของพอร์ตการลงทุนโดยรวมของตนเองด้วย | สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมหรือขอรับหนังสือชี้ชวนได้ที่ บริษัทหลักทรัพย์นายหน้าซื้อขายหน่วยลงทุน ฟินโนมีนา จำกัด ในช่วงเวลาวันทำการตั้งแต่ 09:00-17:00 น. ที่หมายเลขโทรศัพท์ 02 026 5100 และทาง LINE “@FINNOMENAPORT” | สำหรับผู้ลงทุนในความดูแลของ Kept by krungsri ติดต่อทีม Kept help center ที่หมายเลขโทรศัพท์ 02 296 6299
สารบัญ
เมื่อเกือบ 30 ปีก่อน Bill Gates มหาเศรษฐีผู้ปลุกปั้น Microsoft เคยยอมรับผ่านปลายปากกาในนิตยสาร Harvard Business Review ว่า สิ่งหนึ่งที่เขาได้เรียนรู้จาก Warren Buffett คือ การมองธุรกิจเป็นเหมือนปราสาท
และสิ่งที่ธุรกิจดี ๆ ทำกันคือ หมั่นตรวจว่าผู้บริหารได้ลงแรงขยับขยายคูเมือง (Moat) หรือปราการที่คอยโอบล้อมธุรกิจจากคู่แข่งและการแข่งขันอันดุเดือดหรือไม่ และแค่มีปราการยังไม่พอ คุณต้องขยับขยายมันด้วย
“ผมมองหาปราการธุรกิจซึ่งโอบล้อมด้วยคูเมือง
ที่ไม่อาจทะลวงฟันเข้ามาได้– Warren Buffett”
อันที่จริง ไม่ใช่ว่าทุกธุรกิจจะมีปราการล้อมกันไปหมด Bill Gates อธิบายต่อว่า การหาข้อได้เปรียบของธุรกิจที่สามารถกำบังตัวเองจากคู่แข่งเป็นเรื่องยาก บ่อยครั้งคูเมืองที่แน่นหนาเกิดจากปัจจัยไม่ธรรมดาหลายข้อหลอมรวมกัน (เช่น แบรนด์ สิทธิบัตร จำนวนผู้ใช้มหาศาล หรือ ความใหญ่โตของธุรกิจ) อันจะนำมาซึ่งการเติบโตที่ยั่งยืน
คำถามสำคัญก็คือ มีข้อได้เปรียบแบบไหนบ้างที่เป็นเหมือนคูเมืองคอยป้องกันธุรกิจที่เราลงทุนจากคู่แข่ง นิยามของเรื่องนี้อาจจะหลากหลายกันไป แต่เราขอหยิบยกคูเมืองในนิยามของ Morningstar มาให้ดูกัน ดังนี้
และกองทุน AFMOAT-HA ที่กำลังจะรีวิวต่อจากนี้ก็เป็นช่องทางในการลงทุนในธุรกิจที่พรั่งพร้อมไปด้วยคูเมืองโอบล้อม เพื่อสร้างผลตอบแทนที่ยั่งยืนในทุกภาวะตลาด
AFMOAT-HA หรือ กองทุนเปิด เอ เอฟ ยูเอส ไวด์ โมท เฮดจ์ ชนิดสะสมมูลค่า คือ
กองทุน AFMOAT-HA ได้รับเรตติ้งระดับ 5 ดาวจาก Morningstar ทั้งในส่วนของภาพรวม การดำเนินงาน 3 ปี และการดำเนินงาน 5 ปี
เรตติ้งของกองทุน VanEck Morningstar Wide Moat ETF โดย Morningstar | Source: vaneck.com as of 08/2023
ถ้ากางข้อมูลกองทุนหุ้นสหรัฐฯ ส่วนใหญ่ออกมาดู โดยทั่วไปเรามักจะเห็นหุ้นอย่าง Tesla หรือ Microsoft แวะเวียนกันมาอยู่บนหน้า Top Holdings อยู่เสมอ
แต่ข้อแตกต่างของกองทุน AFMOAT-HA ที่เลือกลงทุนในหุ้นปราการแกร่งโดยเฉพาะ ทำให้เราได้เห็นการลงทุนในบริษัทอย่าง
ทรัพย์สินที่กองทุนหลักของ AFMOAT-HA ลงทุน 10 อันดับแรก | Source: Fund Factsheet ของ VanEck Morningstar Wide Moat ETF as of 08/2023
สัดส่วนการลงทุนตามอุตสาหกรรมของ VanEck Morningstar Wide Moat ETF | Source: Fund Factsheet ของ VanEck Morningstar Wide Moat ETF as of 08/2023
คัดเลือกเฉพาะบริษัทที่มีปราการอย่างน้อย 1 ใน 5 แบบ ตามที่เคยกล่าวไปข้างต้น คือ ต้นทุนการเปลี่ยนใจ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ผลจากความเชื่อมโยง ความได้เปรียบทางราคา หรือความได้เปรียบจากขนาด เพื่อรับประกันว่าบริษัทนั้น ๆ จะมีความสามารถในการแข่งขันซึ่งจะนำไปสู่การสร้างผลตอบแทนได้อย่างแท้จริง
กองทุนแบ่งบริษัทออกเป็น 3 แบบ คือ ไร้ปราการ (none) ปราการเปราะบาง (narrow moat) และ ปราการแน่นหนา (wide moat) และธุรกิจแบบสุดท้ายคือธุรกิจที่กองทุนนี้ให้ความสนใจโดยประเมินแล้วว่าด้วยความแข็งแกร่งของปราการที่บริษัท wide moat มี จะทำให้บริษัทสามารถรักษาความได้เปรียบในการแข่งขัน (ปราการ) ไปได้ยาวนานถึง 20 ปี ซึ่งจะสร้างผลตอบแทนให้กับนักลงทุนได้ในระยะยาว โดยบริษัทแบบนี้คิดเป็นเพียง 10-15% เท่านั้นในจักรวาลหุ้นของ Morningstar
กองทุนลงทุนก็ต่อเมื่อธุรกิจนั้นอยู่ในราคาที่น่าดึงดูด โดยจะมองไปที่ธุรกิจที่มีมูลค่าต่ำกว่าตามการประมาณการของดัชนีจาก Morningstar พูดง่าย ๆ คือลงทุนใน fair value
ที่ผ่านมากองทุนปรับเปลี่ยนคาแรกเตอร์หุ้นที่ลงทุนระหว่างหุ้นเติบโตและหุ้นคุณค่าอยู่เสมอ โดยเป็นผลมาจากวิธีการคัดหุ้นโดยมองที่ปราการเป็นหลักมากกว่าการมองสไตล์ของหุ้น การไม่ยึดติดตรงนี้ทำให้กองทุนสามารถเลือกธุรกิจที่น่าสนใจโดยไม่โดนจำกัดความเป็นไปได้
ผลตอบแทนย้อนหลังของ VanEck Morningstar Wide Moat ETF | Source: Fund Factsheet ของ VanEck Morningstar Wide Moat ETF as of 08/2023
สามารถศึกษารายละเอียดของกองทุนเพิ่มเติมได้ที่ https://www.finnomena.com/fund/
FINNOMENA FUNDS ให้คุณได้ลงทุนในกองทุนรวมชั้นนำของประเทศไทยจากหลากหลาย บลจ.
ตอบโจทย์ทุกความต้องการ ไม่ว่าจะลงกองเดี่ยว จัดพอร์ต วางแผนลงทุน หรือลดหย่อนภาษี
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม คลิก https://finno.me/get-started-ws?ct_id=afmoat-ha-2023
ออมเบอร์5 กับฟินโนมีนา ฟันด์ ได้แล้ววันนี้ NOW OR NEVER 555 ไม่เปิดบัญชีตอนนี้ จะเปิดตอนไหน? เปิดบัญชีกับฟินโนมีนา ฟันด์ พร้อมลงทุนครั้งแรก 5,000 บาท และ DCA ยาวๆ 12 เดือน
กับกองทุนคัดพิเศษเริ่มต้น 555 บาทต่อเดือน รับฟรี ! E-Voucher Shopee มูลค่า 500 บาท*
และ ลงทุนทุกๆ 5,000 บาท รับ 1 FINT*รายละเอียดเพิ่มเติม คลิก https://finno.me/aom-no5-promotion
ตั้งแต่วันที่ 5 ก.ย. – 30 พ.ย. 2566 *เงื่อนไขเป็นไปตามที่บริษัทกำหนด
อ้างอิง
คำเตือน
การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรทำความเข้าใจลักษณะสินค้า เงื่อนไขผลตอบแทนและความเสี่ยงก่อนตัดสินใจลงทุน | ผลการดำเนินงานในอดีต และผลการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ในตลาดทุน มิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดำเนินงานในอนาคต | กองทุนมีการลงทุนกระจุกตัวในประเทศที่ลงทุน จึงมีความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนอาจสูญเสียเงินลงทุนจำนวนมาก ผู้ลงทุนจึงควรพิจารณาการกระจายความเสี่ยงของพอร์ตการลงทุนโดยรวมของตนเองด้วย | ผู้ลงทุนอาจมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากการป้องกันความเสี่ยงขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้จัดการกองทุน | สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมหรือขอรับหนังสือชี้ชวนได้ที่บริษัทหลักทรัพย์นายหน้าซื้อขายหน่วยลงทุน ฟินโนมีนา จำกัด ในช่วงเวลาวันทำการตั้งแต่ 09:00-17:00 น. ที่หมายเลขโทรศัพท์ 02 026 5100 และทาง LINE “@FINNOMENAPORT”
วันนี้ 29 ก.ย. ดัชนี Hang Seng ปรับตัวขึ้น 2.66% นำโดยกลุ่ม Consumer cyclicals +3.66%, อสังหาริมทรัพย์ +3.49% และเทคโนโลยีที่ปรับตัวขึ้น 2.88%, ตามตลาดหุ้นสหรัฐฯ เมื่อคืนที่ผ่านมา จากการปรับตัวลงของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ อายุ 10 ปี สู่ระดับ 4.581% หนุนภาวะ Risk on ให้กลับมาอีกครั้งในระยะสั้น
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อหน่วยงานกำกับดูแลอินเทอร์เน็ต ออกร่างกฎที่ทำให้การถ่ายโอนข้อมูลข้ามพรมแดนง่ายขึ้น เพื่อบรรเทาความกังวลของธุรกิจต่างประเทศ และส่งเสริมการเติบโตของเศรษฐกิจท้องถิ่นที่กำลังซบเซาในขณะนี้ ซึ่งร่างการยกเว้นดังกล่าวจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อบริษัทหรือธุรกิจท้องถิ่นที่จัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลสำหรับผู้ใช้น้อยกว่าหนึ่งล้านคน หนุนหุ้นเทคโนโลยีจีนตอบรับกับข้อมูลดังกล่างโดย Tencent ปรับตัวขึ้น 3.03% Alibaba ปรับตัวขึ้น 3.49% Meituan ปรับตัวขึ้น 3.79% Netease ปรับตัวขึ้น 5.03%
FINNOMENA FUNDS Investment Team ยังติดตามสถานการณ์ความผันผวนของตลาดหุ้นจีนอย่างใกล้ชิด โดยมีความพยายามจากทางรัฐบาลจีนที่กอบกู้ความเชื่อมั่นของนักลงทุนที่มีความกังวลเกี่ยวกับแนวโน้มเศรษฐกิจจีนและตลาดอสังหาริมทรัพย์ของจีน โดยใช้การออกนโยบายการกระตุ้นเศรษฐกิจออกมาอย่างต่อเนื่อง และเรายังคาดว่ามาตรการในการกระตุ้นเศรษฐกิจในขนาดที่เหมาะสมจะค่อย ๆ ทยอยออกมาเพิ่มเติมอีกในอนาคต เพื่อฟื้นความเชื่อมั่นของนักลงทุนต่อเศรษฐกิจจีน
ตลาดหุ้นจีน All China มี Valuation อยู่ในระดับที่มี downside จำกัด โดยมี PE เมื่อเทียบกับตัวเองในอดีตที่ระดับ -1 S.D. เรายังมีมุมมองเชิงบวกต่อตลาดหุ้นจีน เนื่องจากราคาลงมาในจุดที่ Valuation น่าสนใจ อีกทั้งเศรษฐกิจจีนยังมี upside ให้ฟื้นตัวอยู่ในระดับสูง
——————
ในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา วันที่ 23 – 29 ก.ย. 2566 กองทุนรวมตลาดเงิน (Money Market Fund) กองไหนทำผลตอบแทนได้โดดเด่นชนะอัตราดอกเบี้ยเงินฝากบ้าง? บทความนี้จะขอพาผู้อ่านไปดูกันครับ
1. T-MONEY – กองทุนเปิดธนชาตตลาดเงิน
ผลตอบแทนย้อนหลัง 1 สัปดาห์ (เฉลี่ยต่อปี): +3.10%
ผลตอบแทนย้อนหลัง 1 เดือน (เฉลี่ยต่อปี): +1.52%
2. TISCOSTF – กองทุนเปิด ทิสโก้ พันธบัตรระยะสั้น
ผลตอบแทนย้อนหลัง 1 สัปดาห์ (เฉลี่ยต่อปี): +2.85%
ผลตอบแทนย้อนหลัง 1 เดือน (เฉลี่ยต่อปี): +1.17%
3. ONE-FIXED-A – กองทุนเปิด วรรณ ชอร์ตเทอม ฟิกซ์ อินคัม ชนิดหน่วยลงทุน A
ผลตอบแทนย้อนหลัง 1 สัปดาห์ (เฉลี่ยต่อปี): +2.75%
ผลตอบแทนย้อนหลัง 1 เดือน (เฉลี่ยต่อปี): +2.07%
4. BCAP-MONEY – กองทุนเปิดบีแคป มันนี่ มาร์เก็ต
ผลตอบแทนย้อนหลัง 1 สัปดาห์ (เฉลี่ยต่อปี): +2.66%
ผลตอบแทนย้อนหลัง 1 เดือน (เฉลี่ยต่อปี): +1.56%
5. KKP MP – กองทุนเปิดเคเคพี มันนี่ โพสิทีฟ
ผลตอบแทนย้อนหลัง 1 สัปดาห์ (เฉลี่ยต่อปี): +2.51%
ผลตอบแทนย้อนหลัง 1 เดือน (เฉลี่ยต่อปี): +1.87%
ดูรายละเอียดกองทุนทั้ง 5 อันดับเพิ่มเติม: T-MONEY, TISCOSTF, ONE-FIXED-A, BCAP-MONEY, KKP MP
หมายเหตุ: ข้อมูลมูลค่าหน่วยลงทุน (NAV) อัปเดตล่าสุด ณ วันที่ 28 ก.ย. 2566 จาก Morningstar ทั้งนี้ข้อมูลผลตอบแทนบางกองทุนในหน้าจัดอันดับกองทุน อาจมีการแสดงผลตอบแทนที่แตกต่างจากแต่ละหน้ากองทุน เนื่องจากการดึงข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ต่างกัน (ซึ่งนับวันที่ในรอบสัปดาห์แตกต่างกัน) สามารถดูรายละเอียดของกองทุนเพิ่มเติมได้ที่ finnomena.com/fund
คำเตือน
ผู้ลงทุนควรทำความเข้าใจลักษณะสินค้า เงื่อนไขผลตอบแทน และความเสี่ยงก่อนตัดสินใจลงทุน | การลงทุนในกองทุนรวมไม่ใช่การฝากเงิน | ผลการดำเนินงานในอดีต และผลการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ในตลาดทุน มิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดำเนินงานในอนาคต | สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมหรือขอรับหนังสือชี้ชวนได้ที่บริษัทหลักทรัพย์นายหน้าซื้อขายหน่วยลงทุน ฟินโนมีนา จำกัด ในช่วงเวลาวันทำการตั้งแต่ 09:00-17:00 น. ที่หมายเลขโทรศัพท์ 02 026 5100 และทาง LINE “@FINNOMENAPORT”
พอร์ตการลงทุน Growth Momentum AI หรือ GMAI ปรับพอร์ตรอบใหม่ คัดเลือก 5 กองทุนโมเมนตัมเด่น โดยทีมงาน Deepscope GURUPORT แนะนำปรับสัดส่วนการลงทุน และ Rebalance ตามคำแนะนำด้านล่างนี้
จากประเด็นข้างต้น บวกกับวิเคราะห์โมเมนตัมโดย AI ทำให้รอบการปรับพอร์ตนี้ พอร์ตโฟลิโอ GMAI คัดเลือกกองทุนที่ผลงานดี โมเมนตัมเด่น ทั้งกองทุนที่ลงทุนในน้ำมัน พลังงาน หุ้นญี่ปุ่น ทองคำ และอื่น ๆ ซึ่งมีแนวโน้มการเติบโตที่น่าสนใจในช่วงไตรมาส 4 หรือปลายปี 2023 มาดังด้านล่างนี้
โดยรวมการปรับพอร์ตรอบนี้เป็นการเน้นส่วนผสมของ theme ที่ทำผลงานได้ดีตามปกติในช่วงหน้าหนาวหรือสิ้นปีอยู่แล้ว เช่น พลังงาน ผสมกับความมั่นคงของการลงทุนในทองคำ และ theme อื่น ๆ เพื่อป้องกันความผันผวนของพอร์ตไว้อีกชั้นนึง ในกรณีที่ความผันผวนของเงินเฟ้อและอัตราดอกเบี้ยยังไม่หมดไปจากเศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน
ทุกกองทุนมีสัดส่วน 20% เท่ากัน Source: Deepscope as of 28/09/2023
ล้วงลึกทุกกองทุน จากพลัง AI ที่ไร้ขีดจำกัด ด้วยพอร์ต Growth Momentum AI (GMAI) โดย Deepscope
ดูรายละเอียดพอร์ต >>> https://finno.me/guruport-deepscope
บทความโดย Deepscope สำหรับพอร์ต Growth Momentum AI (GMAI) ที่ FINNOMENA เท่านั้น
ข้อมูล ณ วันที่ 28 กันยายน 2023
คำเตือน
ผู้ลงทุนควรทำความเข้าใจลักษณะสินค้า เงื่อนไขผลตอบแทน และความเสี่ยงก่อนตัดสินใจลงทุน | การลงทุนไม่ใช่การฝากเงิน | ผลการดำเนินงานในอดีต และผลการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ในตลาดทุน มิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดำเนินงานในอนาคต | ผู้ลงทุนอาจมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากการป้องกันความเสี่ยงขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้จัดการกองทุน จึงมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งอาจทําให้ผู้ลงทุน ขาดทุนหรือได้รับกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน/หรือได้รับเงินคืนต่ำกว่าเงินลงทุนเริ่มแรกได้ | บางกองทุนลงทุนกระจุกตัวในหมวดอุตสาหกรรม จึงมีความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนอาจสูญเสียเงินลงทุนจำนวนมาก | ข้อมูลและการคาดการณ์ที่ปรากฏในบทความนี้จัดทำขึ้นจากแหล่งข้อมูลในอดีตร่วมกับการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน แต่ทั้งนี้ไม่อาจรับรองความสมบูรณ์แท้จริงและความแม่นยำของการวิเคราะห์ข้อมูลในอนาคตได้ | สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมหรือขอรับหนังสือชี้ชวนได้ที่บริษัทหลักทรัพย์นายหน้าซื้อขายหน่วยลงทุน ฟินโนมีนา จำกัด ในช่วงเวลาวันทำการตั้งแต่ 09:00-17:00 น. ที่หมายเลขโทรศัพท์ 02 026 5100 และทาง LINE “@FINNOMENAPORT” | สำหรับผู้ลงทุนในความดูแลของ Kept by Krungsri ติดต่อทีม Kept help center ที่หมายเลขโทรศัพท์ 02 296 6299
ภาพที่ 1: แสดงผลตอบแทนรวม MSCI ACWI Index, Source: MSCI as of 25/09/2023
Exposures from MSCI’s adaptive multi-factor allocation model
ภาพที่ 2: แสดงปัจจัยที่ส่งผลต่อ MSCI ACWI Index, Source: MSCI as of 25/09/2023
สรุป MSCI Factor Index
Global macro framework
ภาพที่ 3: แสดงมุมมองการลงทุนในภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วโลก Source: invesco.com as of 25/09/2023
จากมุมของ Marco Region ของ Global กำลังอยู่ใน Recovery Phase โดยมีสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่นอยู่ใน Expansion Phase
Tactical Factor Positioning
ภาพที่ 4: แสดงกลยุทธ์การลงทุนเชิงเทคนิค Source: invesco.com as of 25/09/2023
โดยเป็นการให้น้ำหนักไปยังปัจจัยแบบ Value, Size และ Momentum ตามลำดับ
Source: Standard Charter as of 29/09/2023
จากการคาดการของ Standard Charter ยังคงให้น้ำหนักไปยัง Sector Technology, Healthcare และ Communication
แนวทางการลงทุน | Core / Satellite | กองทุน | สัดส่วนการลงทุนเก่า | สัดส่วนการลงทุนใหม่ | ||
ตราสารทุน | ||||||
ดัชนี Index World | Core | TMBWDEQ | 10% | 35% | 15% | 40% |
ดัชนี Nasdaq | K-USXNDQ-A(A) | 10% | 10% | |||
หุ้นเน้นคุณค่าทั่วโลก | SCBPGF | 15% | 15% | |||
หุ้น Consumer Defensive | Satellite แบบ Sector | TISCOGC | 10% | 55% | 5% | 50% |
หุ้น Healthcare Defensive | KFHEALTH-A | 15% | 15% | |||
หุ้น Consumer Cyclical | T-Premium Brand | 10% | 10% | |||
หุ้น Technology Cyclical | SCBSEMI(A) | 10% | 10% | |||
หุ้น Technology | B-Innotech | 10% | 10% | |||
สินทรัพย์ทางเลือก | ||||||
ทางเลือก | SCBGOLD | 10% | 10% | 10% | 10% |
สนใจลงทุนในพอร์ต Global Aggressive Hybrid ที่จัดโดย WealthGuru ซึ่งลงทุนในสินทรัพย์ทั่วโลก ทั้งเชิงรุกและเชิงรับ เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการให้เงินสร้างความมั่งคั่งในอนาคต สามารถสร้างแผนได้ที่นี่ https://www.finnomena.com/guruport-wealthguru-hybrid-create/
บทความโดย WealthGuru สำหรับพอร์ต Global Aggressive Hybrid ที่ FINNOMENA เท่านั้น
ข้อมูล ณ วันที่ 25 กันยายน 2023
คำเตือน
ผู้ลงทุนควรทำความเข้าใจลักษณะสินค้า เงื่อนไขผลตอบแทน และความเสี่ยงก่อนตัดสินใจลงทุน | การลงทุนไม่ใช่การฝากเงิน | ผลการดำเนินงานในอดีต และผลการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ในตลาดทุน มิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดำเนินงานในอนาคต | ผู้ลงทุนอาจมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากการป้องกันความเสี่ยงขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้จัดการกองทุน จึงมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งอาจทําให้ผู้ลงทุน ขาดทุนหรือได้รับกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน/หรือได้รับเงินคืนต่ำกว่าเงินลงทุนเริ่มแรกได้ | บางกองทุนลงทุนกระจุกตัวในหมวดอุตสาหกรรม จึงมีความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนอาจสูญเสียเงินลงทุนจำนวนมาก | ข้อมูลและการคาดการณ์ที่ปรากฏในบทความนี้จัดทำขึ้นจากแหล่งข้อมูลในอดีตร่วมกับการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน แต่ทั้งนี้ไม่อาจรับรองความสมบูรณ์แท้จริงและความแม่นยำของการวิเคราะห์ข้อมูลในอนาคตได้ | สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมหรือขอรับหนังสือชี้ชวนได้ที่บริษัทหลักทรัพย์นายหน้าซื้อขายหน่วยลงทุน ฟินโนมีนา จำกัด ในช่วงเวลาวันทำการตั้งแต่ 09:00-17:00 น. ที่หมายเลขโทรศัพท์ 02 026 5100 และทาง LINE “@FINNOMENAPORT” | สำหรับผู้ลงทุนในความดูแลของ Kept by Krungsri ติดต่อทีม Kept help center ที่หมายเลขโทรศัพท์ 02 296 6299
สารบัญ (เลือกหุ้นตัวที่สนใจก่อนได้เลย)
Microsoft มีรายได้ 56.2 พันล้านเหรียญ (กำไรสุทธิ 20.1 พันล้านเหรียญ)
Apple มีรายได้ 81.8 พันล้านเหรียญ (กำไรสุทธิ 19.9 พันล้านเหรียญ)
Tesla มีรายได้ 24.9 พันล้านเหรียญ (กำไรสุทธิ 2.7 พันล้านเหรียญ)
Alphabet มีรายได้ 74.6 พันล้านเหรียญ (กำไรสุทธิ 18.4 พันล้านเหรียญ)
Nvidia มีรายได้ 13.5 พันล้านเหรียญ (กำไรสุทธิ 6.2 พันล้านเหรียญ)
Amazon มีรายได้ 134.4 พันล้านเหรียญ (กำไรสุทธิ 6.8 พันล้านเหรียญ)
อ้างอิง
Golden Week คือเทศกาลหยุดยาวของประเทศจีน เรียกว่าวันหยุดประจำชาติที่ลากยาวต่อเนื่องกันเป็นสัปดาห์ ซึ่งในแต่ละปีจะมีด้วยกัน 3 ช่วง คือ
1. เทศกาลตรุษจีน ในช่วงเดือนมกราคม – กุมภาพันธ์
2. วันแรงงาน ในช่วงวันที่ 1 พฤษภาคมของทุกปี
3. วันชาติจีน ในช่วงเดือนตุลาคมที่บางปีอาจจะคาบเกี่ยวกับเทศกาลไหว้พระจันทร์ด้วย
สำหรับปีนี้ Golden Week จะเริ่มตั้งแต่วันศุกร์ที่ 29 กันยายน 2023 ที่ตรงกับวันไหว้พระจันทร์ และวันชาติจีนตรงกับวันอาทิตย์ที่ 1 ตุลาคม 2023 ทำให้ตลาดหุ้นจีนแผ่นดินใหญ่ (A-shares) จะหยุดยาวตั้งแต่ 30 กันยายน – 6 ตุลาคม ส่วนตลาดหุ้นฮ่องกง (H-shares) จะหยุดทำการวันที่ 2 ตุลาคม
ทั้งนี้ เราจึงได้สรุปรายชื่อกองทุนจีนที่จะหยุดทำการในช่วง Golden Week มาฝากกันแบบครบ ๆ โดยรวบรวมข้อมูลวันหยุดกองทุนจาก บลจ. ที่มีการเผยแพร่เป็นสาธารณะ
กองทุนที่หยุดวันที่ 29 กันยายน – 2 ตุลาคม 2023
K-ASIACV-A(A)
K-ATECH
กองทุนที่หยุดวันที่ 29 กันยายน – 6 ตุลาคม 2023
K-CHX
K-CCTV-A(A)
กองทุนที่หยุดวันที่ 2 ตุลาคม 2023
K-APB-A(A)
K-CHINA-A(A)
K-CHINA-A(D)
KCHINARMF
K-CHINA-SSF
กองทุนที่หยุดวันที่ 29 กันยายน – 6 ตุลาคม 2023
B‐CHINE‐EQ
B‐CHINESSF
B‐CHINAARMF
กองทุนที่หยุดวันที่ 29 กันยายน – 6 ตุลาคม 2023
KT-Ashares
KT-Ashares RMF
KT-CHINA
KT-CHINA RMF
KT-CHINABOND
กองทุนที่หยุดวันที่ 2 ตุลาคม 2023
KT-ASEAN
KT-ASIAG
KT-ASIANBOND
KT-EMEQ
กองทุนที่หยุดวันที่ 29 กันยายน – 6 ตุลาคม 2023
LHCHINA-A
LHCHINA-ASSF
LHCHINA-D
LHCHINA-ASSF
LHCHINARMF
กองทุนที่หยุดวันที่ 29 กันยายน – 5 ตุลาคม 2023
SCBCHA
SCBCHA-SSF
SCBCHAA
SCBRMCHA
กองทุนที่หยุดวันที่ 29 กันยายน – 6 ตุลาคม 2023
SCBCHINA
SCBASHARES(A)
SCBASHARES(SSF)
SCBGEX(A)
SCBGEX(SSF)
SCBMLCAA
SCBRMMLCA
กองทุนที่หยุดวันที่ 2 ตุลาคม 2023
SCBCE
SCBAPLUS
SCBABOND(A)
SCBCEH
SCBAXJ(A)
SCBEMBOND
SCBAXJ(SSF)
กองทุนที่หยุดวันที่ 29 กันยายน – 6 ตุลาคม 2023
TMB-ES-STARTECH
TMB-ES-STARTECH-RMF
T-ES-ChinaA-SSF
T-ES-CHINA A
TMB-ES-CHINA-A
TMBCORMF
TMBCOF
T-ES-ChinaA-RMF
กองทุนที่หยุดวันที่ 2 ตุลาคม 2023
TMBCHEQ
T-CHChallenge#1
TMBAGLRMF
TMBAGLF
กองทุนที่หยุดวันที่ 2 ตุลาคม 2023
PRINCIPAL CHEQ-A
PRINCIPAL CHTECH-A
กองทุนที่หยุดวันที่ 29 กันยายน – 6 ตุลาคม 2023
UCI
UCI-SSF
UCHI
UCHINA
UCHINARMF
UCHINA-SSF
GC
UOBSGC
กองทุนที่หยุดวันที่ 29 กันยายน – 6 ตุลาคม 2023
KFACHINA-A
KFACHINSSF
KFACHINRMF
กองทุนที่หยุดวันที่ 2 ตุลาคม 2023
KF-CHINA
KF-HCHINAD
กองทุนที่หยุดวันที่ 28 กันยายน – 5 ตุลาคม 2023
BCAP-CTECH
กองทุนที่หยุดวันที่ 29 กันยายน – 6 ตุลาคม 2023
ONE-ALLCHINA-ASSF
ONE-ALLCHINA-RA
กองทุนที่หยุดวันที่ 2 ตุลาคม 2023
KWI DRAGON
KWI APREIT
KWI AEPLUS
กองทุนที่หยุดวันที่ 29 กันยายน – 6 ตุลาคม 2023
TCHSTARP
กองทุนที่หยุดวันที่ 2 ตุลาคม 2023
TCHARMF-A
TCHCLEAN
TCHRMF
TCHSTRATEGY
TISCOCH
TISCOCHA-A
TISCOCHA-SSF
กองทุนที่หยุดวันที่ 29 กันยายน – 6 ตุลาคม 2023
ASP-CHINA
ASP-EVOCHINA
ASP-EVOCHINA-SSF
ASP-EVOCHINARM
กองทุนที่หยุดวันที่ 2 ตุลาคม 2023
ASP-HSI
หมายเหตุ: The Opportunity รวบรวมข้อมูลวันหยุดกองทุนจาก บลจ. ที่มีการเผยแพร่เป็นสาธารณะ โดยสามารถตรวจสอบข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่แต่ละ บลจ.
สารบัญ (เลือกหุ้นตัวที่สนใจก่อนได้เลย)
Microsoft มีรายได้ 56.2 พันล้านเหรียญ (กำไรสุทธิ 20.1 พันล้านเหรียญ)
Apple มีรายได้ 81.8 พันล้านเหรียญ (กำไรสุทธิ 19.9 พันล้านเหรียญ)
Tesla มีรายได้ 24.9 พันล้านเหรียญ (กำไรสุทธิ 2.7 พันล้านเหรียญ)
Alphabet มีรายได้ 74.6 พันล้านเหรียญ (กำไรสุทธิ 18.4 พันล้านเหรียญ)
Nvidia มีรายได้ 13.5 พันล้านเหรียญ (กำไรสุทธิ 6.2 พันล้านเหรียญ)
Amazon มีรายได้ 134.4 พันล้านเหรียญ (กำไรสุทธิ 6.8 พันล้านเหรียญ)
อ่านบทความเพิ่มเติม สรุปงบ Q2/23 หุ้น Big Tech แบบเห็นภาพชัด ๆ
👉🏻 กลุ่ม MATANA https://finno.me/matana-q2-23
👉🏻 กลุ่ม FAANG https://finno.me/faang-q2-23
FINNOMENA FUNDS ให้คุณได้ลงทุนในกองทุนรวมชั้นนำของประเทศไทยจากหลากหลาย บลจ.
ตอบโจทย์ทุกความต้องการ ไม่ว่าจะลงกองเดี่ยว จัดพอร์ต วางแผนลงทุน หรือลดหย่อนภาษี
👇👇👇
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม คลิก https://finno.me/get-started-ws?ct_id=matana-business-q2-23
อ้างอิง
ในสภาวะที่ตลาดการเงินทั่วโลกปั่นป่วน นักลงทุนหลาย ๆ ท่านคงอยากหาการลงทุนที่สร้างกระแสเงินสดให้กับเราได้ วันนี้จึงขอนำกองทุนปันผลสูง แถมผลตอบแทนดี มาฝากทุกคนกัน จะมีกองไหนบ้าง ติดตามไปด้วยกันในบทความนี้เลย
นโยบายกองทุน: ลงทุนหุ้นของบริษัทต่าง ๆ ในประเทศที่พัฒนาแล้วทั่วโลก ซึ่งประสบผลสำเร็จหรือมีชื่อเสียงใน Brand โดยพิจารณาจาก Intangible Assets เช่น การมีเครื่องหมายการค้าเป็นที่รู้จักทั่วโลก การเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์สินค้า หรือกลวิธีการจัดจำหน่าย เป็นต้น
กลยุทธ์ในการบริหารจัดการลงทุน: มุ่งหวังให้ผลประกอบการสูงกว่าดัชนีชี้วัด (Active Management)
ระดับความเสี่ยง: 6
มูลค่าขั้นต่ำของการซื้อครั้งแรกและครั้งถัดไป: 500 บาท
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติมได้ที่
https://www.krungsriasset.com/DataWeb/AYFWeb/th/pdf/FFS_KFGBRAND-D_TH.pdf?rnd=20230921013808
นโยบายกองทุน: ลงทุนในหุ้นญี่ปุ่นที่เป็นส่วนประกอบของดัชนีนิคเคอิ 225 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างผลตอบแทนของกองทุนให้ไปในทิศทางเดียวกันหรือใกล้เคียงกับดัชนีนิคเคอิ 225
กลยุทธ์ในการบริหารจัดการลงทุน: มุ่งหวังให้ผลประกอบการเคลื่อนไหวตามดัชนีชี้วัด (Passive Management)
ระดับความเสี่ยง: 6
มูลค่าขั้นต่ำของการซื้อครั้งแรกและครั้งถัดไป: 1 บาท
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติมได้ที่
https://www.scbam.com/medias/fund-doc/summary-prospectus/SCBNK225D_SUM.pdf
นโยบายกองทุน: ลงทุนในหุ้นสหรัฐฯ ที่เป็นส่วนประกอบของดัชนี Nasdaq-100 เพื่อให้มีผลตอบแทนเป็นไปตามดัชนี Nasdaq-100 ที่ประกอบด้วยหุ้นจำนวน 100 หุ้นของ บริษัทขนาดใหญ่ที่ไม่ใช่สถาบันการเงินที่ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ NASDAQ
กลยุทธ์ในการบริหารจัดการลงทุน: มุ่งหวังให้ผลประกอบการเคลื่อนไหวตามดัชนีชี้วัด (Passive Management)
ระดับความเสี่ยง: 6
มูลค่าขั้นต่ำของการซื้อครั้งแรกและครั้งถัดไป: 500 บาท
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติมได้ที่
https://www.kasikornasset.com/FundDocument/Fund_Fact_Sheet/K-USXNDQ-A(D).pdf
นโยบายกองทุน: ลงทุนในหุ้นของบริษัทที่จดทะเบียนในประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปไม่ต่ำกว่า 75% โดยเน้นลงทุนในหุ้นกลุ่มที่คาดว่ามีอัตราการเจริญเติบโตสูง (Growth Stock)
กลยุทธ์ในการบริหารจัดการลงทุน: มุ่งหวังให้ผลประกอบการสูงกว่าดัชนีชี้วัด (Active Management)
ระดับความเสี่ยง: 6
มูลค่าขั้นต่ำของการซื้อครั้งแรกและครั้งถัดไป: 500 บาท
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติมได้ที่
https://www.kasikornasset.com/FundDocument/Fund_Fact_Sheet/K-EUROPE-A(D).pdf
นโยบายกองทุน: ลงทุนในบริษัทที่ดำเนินธุรกิจด้านการออกแบบ การจัดจำหน่าย การผลิต และการขายเซมิคอนดักเตอร์
กลยุทธ์ในการบริหารจัดการลงทุน: มุ่งหวังให้ผลประกอบการเคลื่อนไหวตามดัชนีชี้วัด (Passive Management)
ระดับความเสี่ยง: 7
มูลค่าขั้นต่ำของการซื้อครั้งแรกและครั้งถัดไป: 1,000 บาท (ครั้งแรก), 100 บาท (ครั้งถัดไป)
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติมได้ที่
https://www.lhfund.co.th/Upload/FACTSHEET_LHSEMICON_D_THAI.pdf
นโยบายกองทุน: ลงทุนในหุ้นของบริษัทขนาดเล็กที่เป็นบริษัทชั้นนำและมีศักยภาพในการเติบโตในระยะยาว และจดทะเบียนซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ญี่ปุ่น
กลยุทธ์ในการบริหารจัดการลงทุน: มุ่งหวังให้ผลประกอบการสูงกว่าดัชนีชี้วัด (Active Management)
ระดับความเสี่ยง: 6
มูลค่าขั้นต่ำของการซื้อครั้งแรกและครั้งถัดไป: 500 บาท
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติมได้ที่
https://www.krungsriasset.com/DataWeb/AYFWeb/th/pdf/FFS_KF-JPSCAPD_TH.pdf?rnd=20230920053838
นโยบายกองทุน: ลงทุนในบริษัทที่ดำเนินธุรกิจที่เกี่ยวกับวิดีโอเกม และ/หรือ อีสปอร์ต และ/หรือ บริษัทที่พัฒนาวิดีโอเกมและโปรแกรมหรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้อง
กลยุทธ์ในการบริหารจัดการลงทุน: มุ่งหวังให้ผลประกอบการเคลื่อนไหวตามดัชนีชี้วัด (Passive Management)
ระดับความเสี่ยง: 6
มูลค่าขั้นต่ำของการซื้อครั้งแรกและครั้งถัดไป: 1,000 บาท (ครั้งแรก), 100 บาท (ครั้งถัดไป)
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติมได้ที่
https://www.lhfund.co.th/Upload/FACTSHEET_LHESPORT_D_THAI.pdf
นโยบายกองทุน: ลงทุนในหุ้นของบริษัทญี่ปุ่น (Japanese company) ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ส่วนของมูลค่าทรัพย์สินของกองทุน
กลยุทธ์ในการบริหารจัดการลงทุน: มุ่งหวังให้ผลประกอบการสูงกว่าดัชนีชี้วัด (Active Management)
ระดับความเสี่ยง: 6
มูลค่าขั้นต่ำของการซื้อครั้งแรกและครั้งถัดไป: 500 บาท
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติมได้ที่
https://www.kasikornasset.com/FundDocument/Fund_Fact_Sheet/K-JP-A(D).pdf
นโยบายกองทุน: ลงทุนในหุ้นที่เป็นส่วนประกอบของดัชนี STOXX Europe 600 เพื่อให้ผลการดำเนินงานของกองทุนใกล้เคียงกับผลตอบแทนของดัชนี STOXX Europe 600
กลยุทธ์ในการบริหารจัดการลงทุน: มุ่งหวังให้ผลประกอบการเคลื่อนไหวตามดัชนีชี้วัด (Passive Management)
ระดับความเสี่ยง: 6
มูลค่าขั้นต่ำของการซื้อครั้งแรกและครั้งถัดไป: 1 บาท
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติมได้ที่
https://www.scbam.com/medias/fund-doc/summary-prospectus/SCBEUEQ_SUM.pdf
นโยบายกองทุน: ลงทุนในหุ้นของบริษัทที่จดทะเบียนซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลก
กลยุทธ์ในการบริหารจัดการลงทุน: มุ่งหวังให้ผลประกอบการสูงกว่าดัชนีชี้วัด (Active Management)
ระดับความเสี่ยง: 6
มูลค่าขั้นต่ำของการซื้อครั้งแรกและครั้งถัดไป: 1,000 บาท
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติมได้ที่
https://www.scbam.com/medias/fund-doc/summary-prospectus/SCBGEQ_SUM.pdf
FINNOMENA FUNDS ให้คุณได้ลงทุนในกองทุนรวมชั้นนำของประเทศไทยจากหลากหลาย บลจ.
ตอบโจทย์ทุกความต้องการ ไม่ว่าจะลงกองเดี่ยว จัดพอร์ต วางแผนลงทุน หรือลดหย่อนภาษี
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม คลิก https://finno.me/get-started-ws
ข้อมูลอัตราเงินปันผลตอบแทน ณ วันที่ 31 ส.ค. 2566
ข้อมูลผลตอบแทนย้อนหลังจาก FINNOMENA FUND สามารถข้อมูลอัปเดตล่าสุดที่ FINNOMENA Fund Filter
อัปเดตตัวเลข ณ วันที่ 15 ก.ย. 2566: K-JP-A(D), SCBGEQ
อัปเดตตัวเลข ณ วันที่ 18 ก.ย. 2566: KFGBRAND-D, K-USXNDQ-A(D), K-EUROPE-A(D), LHSEMICON-D, KF-JPSCAPD, LHESPORT-D, SCBEUEQ
อัปเดตตัวเลข ณ วันที่ 19 ก.ย. 2566: SCBNK225D
— planet 46.
คำเตือน
การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรทำความเข้าใจลักษณะสินค้า เงื่อนไขผลตอบแทน และความเสี่ยงก่อนตัดสินใจลงทุน | ผลการดำเนินงานในอดีต และผลการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ในตลาดทุน มิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดำเนินงานในอนาคต | การลงทุนในกองทุนรวมมิใช่การฝากเงิน | ผู้ลงทุนอาจมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากการป้องกันความเสี่ยงขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้จัดการกองทุน | บางกองทุนมีการลงทุนกระจุกตัวในประเทศที่ลงทุน จึงมีความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนอาจสูญเสียเงินลงทุนจำนวนมาก ผู้ลงทุนจึงควรพิจารณาการกระจายความเสี่ยงของพอร์ตการลงทุนโดยรวมของตนเองด้วย | สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมหรือขอรับหนังสือชี้ชวนได้ที่ บริษัทหลักทรัพย์นายหน้าซื้อขายหน่วยลงทุน ฟินโนมีนา จำกัด ในช่วงเวลาวันทำการตั้งแต่ 09:00-17:00 น. ที่หมายเลขโทรศัพท์ 02 026 5100 และทาง LINE “@FINNOMENAPORT” | สำหรับผู้ลงทุนในความดูแลของ Kept by krungsri ติดต่อทีม Kept help center ที่หมายเลขโทรศัพท์ 02 296 6299
ภายในวันที่ 30 กันยายนนี้ จะเป็นเส้นตายที่รัฐบาลสหรัฐอเมริกาจำเป็นต้องผ่านร่างกฎหมายงบประมาณอีกครั้ง ไม่เช่นนั้นเหตุการณ์ Government Shutdown อาจกลับมาอีกครั้ง
โดยล่าสุดสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐฯ ยังไม่สามารถตกลงกันได้ในเรื่องร่างงบประมาณประเทศ ซึ่งมีประเด็นความขัดแย้งจากการที่พรรคเดโมแครตของประธานาธิบดี ‘โจ ไบเดน’ ต้องการเพิ่มงบเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ และยืนยันที่จะไม่ลดละการให้ความช่วยเหลือแก่ยูเครน
ตรงข้ามกับฝ่ายค้านอย่างพรรครีพับลิกัน แต่ครองเสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฎร (221 ต่อ 212) ที่ต้องการลดค่าใช้จ่ายภายในประเทศอย่างหนัก และคัดค้านร่างจัดสรรงบกลาโหมเพื่อหยุดสนับสนุนยูเครน จึงกลายเป็นความขัดแย้งทางความคิดที่รอทางออกจนนาทีสุดท้าย!
Source: REUTERS/Jonathan Ernst
Government Shutdown คือ การที่รัฐบาลสหรัฐฯ จำเป็นต้องยุติการจ่ายงบประมาณให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ชั่วคราว เนื่องจากสภาคองเกรส (United States Congress) ไม่สามารถผ่านร่างกฎหมายงบประมาณได้ทันเวลา โดยมีสาเหตุมาจากความขัดแย้งของสภาผู้แทนราษฎรที่มีความเห็นต่อนโยบายงบประมาณไม่ตรงกัน
ทั้งนี้ Government Shutdown จะเริ่มต้นขึ้นทันทีที่เข้าสู่เวลา 00.01 น. ของวันที่ 1 ตุลาคม ซึ่งเป็นวันแรกของปีงบประมาณใหม่
เมื่อหน่วยงานต่าง ๆ ไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ จึงจำเป็นต้องปิดตัว หรือ Shutdown ชั่วคราว และหมายถึงว่าพนักงานภาครัฐที่ไม่ได้อยู่ในตำแหน่งสำคัญ ก็จะต้องหยุดทำงานโดยไม่ได้รับค่าตอบแทนด้วย คล้าย ๆ กับโดน Leaves without Pay จนกว่าจะผ่านร่างงบประมาณได้สำเร็จ
ตัวอย่างบริการภาครัฐที่ถูกชัตดาวน์ เช่น อุทยานแห่งชาติ, พิพิธภัณฑ์, สวนสัตว์, หน่วยงานที่ให้บริการด้านสินเชื่อ, บริการตรวจคนเข้าเมืองบางส่วน, หน่วยงานวิจัยต่าง ๆ เป็นต้น
แต่จะมีข้อยกเว้นสำหรับบางหน่วยงานที่มีความสำคัญและจำเป็นต่อประชาชน เช่น บริการสาธารณสุข, กองทัพ, พยากรณ์อากาศ, ไปรษณีย์, ขนส่งสาธารณะ และธนาคารกลางสหรัฐฯ เป็นต้น
เหตุการณ์ Government Shutdown ไม่ใช่เรื่องใหม่ของสหรัฐฯ เคยเกิดขึ้นมาแล้วหลายครั้ง ยาวบ้างสั้นบ้างขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของประเด็น
Source: The Washington Post as of 21/09/2023
Government Shutdown ครั้งที่ยาวนานที่สุดในประวัติศาตร์ เกิดขึ้นในสมัยของประธานาธิบดี ‘โดนัลด์ ทรัมป์’ เมื่อปี 2018 นี่เอง ด้วยการชัตดาวน์เนิ่นนานกว่า 34 วัน จากปัญหาจัดสรรงบให้กับนโยบายกำแพงชายแดนเม็กซิโก-สหรัฐฯ
การชัตดาวน์ที่สำคัญอีกครั้งหนึ่งเกิดขึ้นภายใต้การนำของประธานาธิบดี ‘บิล คลินตัน’ ในช่วงปลายปี 1995 ถึงต้นปี 1996 รวมทั้งสิ้น 21 วัน ซึ่งเกิดเสียงแตกในการจัดสรรงบให้หน่วยงานประกันสุขภาพ การศึกษา และสิ่งแวดล้อม
สมัยของประธานาธิบดี ‘บารัก โอบามา’ ก็เคยเกิดการชัตดาวน์เป็นเวลา 16 วัน จากประเด็นโครงการประกันสุขภาพ หรือ Obama Care
Source: The Washington Post as of 21/09/2023
จะเห็นว่าในช่วง 4 ทศวรรษที่ผ่านมา ประธานาธิบดีแทบจะทุกคนล้วนเคยผ่านสถานการณ์ Government Shutdown มาแล้ว มีเพียงคนเดียวคือ ‘จอร์จ ดับเบิลยู บุช’ ที่ผ่านร่างงบประมาณแบบราบรื่น
ส่วนคำถามที่ว่าในยุคของ ‘โจ ไบเดน’ จะเกิดการชัตดาวน์ครั้งแรกหรือไม่นั้น คงต้องติดตามกันอย่างใกล้ชิดว่าฝ่ายไหนจะยอมผ่อนปรนในศึกครั้งนี้
บางคนเปรียบ Government Shutdown ว่าเป็นเหมือนระบบเศรษฐกิจที่ติดไฟแดง เพราะทำให้หลายกิจกรรมต้องหยุดชะงัก แล้วรอสัญญาณไฟเขียวจากสภาคองเกรส
Source: REUTERS/Jonathan Ernst
Goldman Sachs วิเคราะห์ว่าการชัตดาวน์จะส่งผลกระทบต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ -0.2% ต่อสัปดาห์ พูดง่าย ๆ ว่า “ยิ่งยืดเยื้อ ยิ่งเสียหาย” แต่เศรษฐกิจจะกลับมาฟื้นตัวอีกครั้งหลังจากเหตุการณ์คลี่คลายลงแล้ว
นอกจากนี้ สถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือ Moody’s ได้ออกมาเตือนว่าอาจจะต้องปรับลดอันดับเครดิตของสหรัฐฯ ลงจากระดับ AAA หากเกิดการชัตดาวน์จริง ๆ
อย่างไรก็ดี สิ่งที่น่ากลัวกว่าการชัตดาวน์ คือสถานะการคลังของสหรัฐฯ ที่มีแนวโน้มถดถอยลงต่อเนื่อง ปัจจุบันภาระหนี้สินโดยรวมของรัฐ (Federal Debt) เกินกว่า 100% ของ GDP แล้ว ในขณะที่อัตราดอกเบี้ยยืนอยู่ในระดับสูงสุดในรอบ 10 กว่าปี เท่ากับว่าต้นทุนทางการเงินของสหรัฐฯ กำลังอยู่ในจุดที่หนักอึ้งทีเดียว
Source: Yahoo Finance As of 2023
ความสัมพันธ์ระหว่าง Government Shutdown กับดัชนีหุ้นสหรัฐฯ S&P 500 พบว่านับตั้งแต่ปี 1981 ถึงปี 2018 จำนวนทั้งหมด 15 ครั้ง S&P 500 ปรับตัวลดลงแค่ 3 ครั้งเท่านั้น แม้กระทั่งครั้งล่าสุดในปี 2018 ตลาดหุ้นบวกไปถึง 9.3%
ทำให้พอสรุปได้ว่าการเกิด Government Shutdown ไม่ได้มีผลต่อตลาดหุ้นอย่างมีนัยสำคัญ
แหล่งข้อมูล
เนื่องด้วยมีผู้ไม่ประสงค์ดีใช้ชื่อบริษัทและโลโก้ของ FINNOMENA เพื่อแอบอ้างใช้ในการฉ้อโกง ประสงค์ต่อทรัพย์ของลูกค้า ตลอดจนผู้ที่ติดตาม FINNOMENA
ทาง FINNOMENA Group จึงขอแจ้งให้ทุกท่านทราบว่า ทาง FINNOMENA ไม่มีเว็บไซต์อื่นนอกจาก https://www.finnomena.com/ ไม่มีนโยบายในการส่ง Link โดยตรงเพื่อให้ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน ไม่มีการส่งข้อความโดยตรง (Direct Message) เพื่อให้โอนเงินเปิดบัญชีและลงทุน รวมถึงไม่มีการขอข้อมูลส่วนตัวเพื่อแจกรางวัล
ทั้งนี้ FINNOMENA ขอแจ้งให้ทราบว่าทางบริษัทฯ ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำเนินการธุรกรรมต่าง ๆ ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย และประสงค์จะดำเนินคดีตามกฎหมายกับบุคคลดังกล่าวอย่างถึงที่สุด
ตัวอย่างการอ้างอิงโลโก้ FINNOMENA
ตัวอย่างเนื้อหาจากเพจที่อ้างชื่อเป็น FINNOMENA
FINNOMENA นั้นเป็นแพลตฟอร์มสำหรับลงทุนในกองทุนรวม สำหรับผู้ที่ประสงค์จะซื้อขายกองทุนรวมกับ FINNOMENA ต้องทำธุรกรรมบนแอปพลิเคชันและเว็บไซต์ FINNOMENA เท่านั้น โดย FINNOMENA เป็นบริษัทนายหน้าซื้อขายหน่วยลงทุนที่ได้รับการรับรองอย่างถูกต้องจาก ก.ล.ต. และอยู่ภายใต้โครงการ “5 ขั้นมั่นใจลงทุน” จึงมั่นใจได้ว่าเงินลงทุนของคุณจะได้รับการดูแลโดยผู้เก็บรักษาทรัพย์สินเช่นเดียวกับการซื้อกองทุนรวมจากธนาคารโดยตรง
นอกจากนี้ ผู้แนะนำลงทุนอิสระที่เป็นตัวแทนของ FINNOMENA นั้นก็เป็นผู้ที่ได้รับใบอนุญาตและได้รับการรับรองอย่างถูกต้องจาก ก.ล.ต. เท่านั้น ผู้ลงทุนจึงสามารถใช้บริการกับทาง FINNOMENA ได้อย่างมั่นใจ
สำหรับผู้ที่ประสงค์จะติดต่อกับทางบริษัทฯ ต้องการเปิดบัญชี หรือทำธุรกรรมด้านการลงทุนกับ FINNOMENA สามารถสอบถามได้ผ่านทาง LINE : @FINNOMENAPORT หรือโทร 02-026-5100 (เวลา 09.00 – 17.00 น. วันจันทร์ – วันศุกร์)
เมื่อวันที่ 4 กันยายน FINNOMENA FUNDS Investment Team ได้แนะนำเข้าลงทุนในรูปแบบการเก็งกำไรระยะสั้นบน ESPO ETF ผ่านกองทุน LHESPORT-A โดยตั้งจุด Stop loss เมื่อ ESPO ETF ปิดตลาดต่ำ 51.80 ดอลลาร์
รูปที่ 1: ESPO ETF TF Day, Source Tradingview as of 25/09/2023
ซึ่งในวันที่ 25 กันยายน ESPO ETF ได้ลงมาปิดที่ระดับ 51.11 ดอลลาร์ ต่ำกว่าจุด Stop Loss ที่กำหนดไว้ จาก Sentiment Risk Off ที่เกิดขึ้นในหุ้นทั่วโลก เนื่องจากอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ อายุ 2 ปี ปรับตัวขึ้นมาที่ระดับ 5.11% ซึ่งเป็นระดับสูงที่สุดตั้งแต่ปี 2006 และ Dollar Index ปรับตัวขึ้นไปที่ระดับ 105.57 จุด สูงที่สุดตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2022 จากการปรับตัวขึ้นของราคาน้ำมันและราคาพลังงานในรอบเดือนที่ผ่านมา ทำให้นักลงทุนยังไม่วางใจกับระดับเงินเฟ้อและการดำเนินนโยบายของ Fed ที่ยังคงเข้มงวดและยาวนาน (higher for longer)
FINNOMENA FUNDS Investment Team จึงแนะนำให้ Stop Loss การลงทุนในกองทุน LHESPORT-A สำหรับนักลงทุนที่ลงทุนตามคำแนะนำ Tactical Call วันที่ 4 กันยายน เพื่อรักษาวินัยและรักษาเงินต้นไว้เพื่อโอกาสในการเก็งกำไรครั้งถัดไป
สามารถศึกษาข้อมูลกองทุนเพิ่มเติมได้ที่ www.finnomena.com/fund/
FINNOMENA FUNDS Investment Team
คำเตือน
การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรทำความเข้าใจลักษณะสินค้า เงื่อนไขผลตอบแทน และความเสี่ยงก่อนตัดสินใจลงทุน | ผลการดำเนินงานในอดีต และผลการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ในตลาดทุน มิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดำเนินงานในอนาคต | ผู้ลงทุนอาจมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากการป้องกันความเสี่ยงขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้จัดการกองทุน | กองทุนรวมนี้ลงทุนกระจุกตัวในผู้ออกตราสารหรือประเทศใดประเทศหนึ่ง จึงมีความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนอาจสูญเสียเงินลงทุนจำนวนมาก ผู้ลงทุนจึงควรพิจารณาการกระจายความเสี่ยงของ พอร์ตการลงทุนโดยรวมของตนเองด้วย คำแนะนำการลงทุนนี้เป็นไปตามกรอบการพิจารณาของ FINNOMENA FUNDS ซึ่งมีเป้าหมายในการสร้างโอกาสรับผลตอบแทนในกรอบระยะเวลาตามวัตถุประสงค์การลงทุนที่แตกต่างกันตามคำแนะนำ บริษัทมิได้การันตีถึงผลตอบแทนที่จะได้จากคำแนะนำการลงทุนดังกล่าว มีความเสี่ยงที่ผลตอบแทนอาจไม่เป็นไปตามคาดหวัง หรือมีผลขาดทุนได้ | สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมหรือขอรับหนังสือชี้ชวนได้ที่บริษัทหลักทรัพย์นายหน้าซื้อขายหน่วยลงทุน ฟินโนมีนา จำกัด ในช่วงเวลาวันทำการตั้งแต่ 09:00-17:00 น. ที่หมายเลขโทรศัพท์ 02 026 5100 และทาง LINE “@FINNOMENAPORT | สำหรับผู้ลงทุนในความดูแลของ Kept by krungsri ติดต่อทีม Kept help center ที่หมายเลขโทรศัพท์ 02 296 6299
เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2023 FINNOMENA FUNDS Investment Team ได้แนะนำเข้าลงทุนในรูปแบบการเก็งกำไรระยะสั้นในดัชนี KOSPI ผ่านกองทุน SCBKEQTG โดยตั้งจุด Stop loss เมื่อดัชนี KOSPI ปิดตลาดต่ำกว่าเส้นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 200 วัน (MA 200)
ซึ่งในวันที่ 26 กันยายน ดัชนี KOSPI ได้ลงมาปิดที่ระดับ 2,465.73 จุด ต่ำกว่าจุด Stop Loss ที่ MA200 ที่กำหนดไว้ จาก Sentiment Risk Off ที่เกิดขึ้นในหุ้นทั่วโลก จากอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ อายุ 2 ปี ปรับตัวขึ้นมาที่ระดับ 5.11% ซึ่งเป็นระดับสูงที่สุดตั้งแต่ปี 2006 และ Dollar Index ปรับตัวขึ้นไปที่ระดับ 105.57 จุด สูงที่สุดตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2022 จากการปรับตัวขึ้นของราคาน้ำมันและราคาพลังงานในรอบเดือนที่ผ่านมา ทำให้นักลงทุนยังไม่วางใจกับระดับเงินเฟ้อและการดำเนินนโยบายของ Fed ที่ยังคงเข้มงวดและยาวนาน (higher for longer) ทำให้แรงกดดันต่อเนื่องไปยังดัชนี KOSPI ที่มีค่า correlation สูงกับตลาดหุ้นโลกและดัชนี S&P 500 จากการเป็นประเทศที่พึ่งพาการส่งออก
รูปที่ 1 : KOSPI Index TF Day, Source Tradingview as of 26/09/2023
FINNOMENA FUNDS Investment Team จึงแนะนำให้ Stop Loss การลงทุนในกองทุน SCBKEQTG สำหรับนักลงทุนที่ลงทุนตามคำแนะนำ Tactical Call เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม เพื่อรักษาวินัยและรักษาเงินต้นไว้เพื่อโอกาสในการเก็งกำไรครั้งถัดไป
ด้านการลงทุนในรูปแบบ MEVT Call และ Global Absolute Return ทาง FINNOMENA FUNDS Investment Team ยังคงมีมุมมองเชิงบวกต่อการลงทุนในหุ้นเกาหลีไต้ จากปัจจัยฟื้นฐานด้านผลประกอบการในปี 2024 ที่คาดการณ์ว่าจะฟื้นตัวจากปี 2023 หนุนจากธุรกิจกลุ่มชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่การระบายสต๊อคสินค้าใกล้สิ้นสุดลง ประกอบกับปัจจัยพื้นฐานของเศรษฐกิจเกาหลีใต้ที่ผ่อนคลายกว่าเมื่อเทียบกับหลายประเทศทั่วโลก บนระดับ Valuation ที่น่าสนใจ
สามารถศึกษาข้อมูลกองทุนเพิ่มเติมได้ที่ www.finnomena.com/fund/
FINNOMENA FUNDS Investment Team
คำเตือน
การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรทำความเข้าใจลักษณะสินค้า เงื่อนไขผลตอบแทน และความเสี่ยงก่อนตัดสินใจลงทุน | ผลการดำเนินงานในอดีต และผลการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ในตลาดทุน มิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดำเนินงานในอนาคต | ผู้ลงทุนอาจมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากการป้องกันความเสี่ยงขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้จัดการกองทุน | กองทุนรวมนี้ลงทุนกระจุกตัวในผู้ออกตราสารหรือประเทศใดประเทศหนึ่ง จึงมีความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนอาจสูญเสียเงินลงทุนจำนวนมาก ผู้ลงทุนจึงควรพิจารณาการกระจายความเสี่ยงของ พอร์ตการลงทุนโดยรวมของตนเองด้วย คำแนะนำการลงทุนนี้เป็นไปตามกรอบการพิจารณาของ FINNOMENA FUNDS ซึ่งมีเป้าหมายในการสร้างโอกาสรับผลตอบแทนในกรอบระยะเวลาตามวัตถุประสงค์การลงทุนที่แตกต่างกันตามคำแนะนำ บริษัทมิได้การันตีถึงผลตอบแทนที่จะได้จากคำแนะนำการลงทุนดังกล่าว มีความเสี่ยงที่ผลตอบแทนอาจไม่เป็นไปตามคาดหวัง หรือมีผลขาดทุนได้ | สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมหรือขอรับหนังสือชี้ชวนได้ที่บริษัทหลักทรัพย์นายหน้าซื้อขายหน่วยลงทุน ฟินโนมีนา จำกัด ในช่วงเวลาวันทำการตั้งแต่ 09:00-17:00 น. ที่หมายเลขโทรศัพท์ 02 026 5100 และทาง LINE “@FINNOMENAPORT | สำหรับผู้ลงทุนในความดูแลของ Kept by krungsri ติดต่อทีม Kept help center ที่หมายเลขโทรศัพท์ 02 296 6299
ในรอบกว่า 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ดัชนี S&P 500 ของสหรัฐอเมริกา วิ่งเป็นขาขึ้นมาตลอด ราคาหุ้นให้ผลตอบแทนเฉลี่ยต่อปีอยู่ที่ 10% ถือเป็นตลาดหุ้นที่มีความโดดเด่นเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก วันนี้จึงได้รวบรวมหุ้น S&P 500 ที่เคยสร้างความมหัศจรรย์ในแต่ละรอบปีปฏิทิน คือสามารถทำราคาเด้งขึ้นแบบเกิน 100% ในช่วงระหว่างปี 1999 ถึง 2020
ปี 1999 ราคาหุ้นปรับเพิ่มขึ้น +2,620%
เป็นบริษัทเทคโนโลยีที่มีสิทธิบัตรเกี่ยวกับ Code Division Multiple Access (CDMA) เพื่อใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตไร้สายได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นพื้นฐานสำหรับเครือข่าย 3G และพัฒนามาเป็น 5G ในปัจจุบัน
ปี 2000 ราคาหุ้นปรับเพิ่มขึ้น +361%
เป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจด้านเทคโนโลยีชีวภาพ โดยมุ่งเน้นการรักษาโรคกล้ามเนื้อที่เกิดจากพันธุกรรม
ปี 2001 ราคาหุ้นปรับเพิ่มขึ้น +308%
ผู้ผลิตชิป GPU รายใหญ่ของโลก ซึ่งถูกใช้ในอุตสาหกรรมหลักอย่าง Data Center และ Gaming รวมถึง Generative AI, Autonomous Vehicle, Cryptocurrency และ Metaverse
ปี 2003 ราคาหุ้นปรับเพิ่มขึ้น +428%
ผู้ให้บริการด้านระบบ Internet Telephony และผลิตภัณฑ์ โซลูชั่น CRM และระบบ Call Center
ปี 2009 ราคาหุ้นปรับเพิ่มขึ้น +369%
กลุ่มเครือข่ายธุรกิจโรงพยาบาลและศูนย์บริการด้านสุขภาพที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา
ปี 2009 ราคาหุ้นปรับเพิ่มขึ้น +348%
ผู้ผลิตชิป CPU รายใหญ่ของโลก ซึ่งถูกใช้เป็นส่วนประกอบสำคัญในคอมพิวเตอร์ และเครื่องเล่มเกมคอนโซล
ปี 2013 ราคาหุ้นปรับเพิ่มขึ้น +298%
ผู้ให้บริการระบบสตรีมมิ่งด้านความบันเทิง ทั้งภาพยนตร์ ซีรี่ สารคดี ซึ่งได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก
ปี 2020 ราคาหุ้นปรับเพิ่มขึ้น +743%
บริษัทผู้ผลิตและจำหน่ายรถยนต์ไฟฟ้า (EV Car) ที่เป็นผู้นำในการปฏิวัติอุตสาหกรรมยานยนต์ยุคใหม่
ปี 2020 ราคาหุ้นปรับเพิ่มขึ้น +302%
ผู้ให้บริการ Marketplace สำหรับซื้อขายงานฝีมือ หรือสินค้า Handmade โดยผู้ผลิตอิสระจากทั่วทุกมุมโลก
สามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.finnomena.com/stock/
จะเห็นว่าหุ้นที่สร้างความมหัศจรรย์ได้ส่วนใหญ่ มักเป็นบริษัทเทคโนโลยีที่สร้างความเปลี่ยนแปลงบางอย่างให้กับโลกใบนี้
พบความสุดพิเศษสำหรับคุณได้ในทุกวัน ทั้งบทความให้ความรู้เกี่ยวกับกองทุนรวม หุ้น คริปโตฯ และการบริการ โปรโมชั่น ของรางวัลต่างๆ ที่คัดสรรมาเพื่อมอบให้กับสมาชิก FINNOMENA เท่านั้น
👉 สมัครสมาชิกเว็บไซต์ FINNOMENA >>> https://finno.me/register-website
แหล่งข้อมูล
The 50 Best One-Year Returns on the S&P 500, Visual Capitalist
คำเตือน
ผู้ลงทุนต้องทำความเข้าใจลักษณะสินค้า เงื่อนไขผลตอบแทน และความเสี่ยงก่อนตัดสินใจลงทุน | ผลการดำเนินงานในอดีต และผลการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ในตลาดทุน มิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดำเนินงานในอนาคต
ใกล้ช่วงสิ้นปีแบบนี้ วางแผนประหยัดภาษีกันหรือยัง? ใครเป็นนักลงทุนสาย Asset Allocation ที่อยากกระจายความเสี่ยงลงทุนในหลากหลายสินทรัพย์ วันนี้เราคัดกองทุน SSF และ RMF สำหรับนักลงทุนสายจัดพอร์ตกระจายความเสี่ยงมาให้โดยเฉพาะ จะมีกองไหนบ้าง แต่ละกองมีจุดเด่นอะไร ลองมาดูกัน
เลือกลงทุนกองทุนประหยัดภาษีทั้ง SSF และ RMF จากหลากหลาย บลจ. บนแพลตฟอร์มการลงทุนที่เป็นกลาง
👉 ดูกองทุนแนะนำ คลิก https://finno.me/tax-saving-fund-ws
“Asset Allocation” เป็นสไตล์การลงทุนที่เน้นกระจายลงทุนไปในสินทรัพย์หลายประเภททั้งในและต่างประเทศ เช่น ตราสารหนี้ หุ้น อสังหาริมทรัพย์ เงินสด ฯลฯ เพื่อลดความเสี่ยงและความผันผวนของพอร์ตการลงทุน โดยแบ่งสัดส่วนลงทุนในแต่ละสินทรัพย์ตามความเสี่ยงที่แต่ละคนรับได้
อ่านเพิ่มเติม Asset Allocation (การจัดสรรสินทรัพย์) คืออะไร: ทำไมลงทุนในหลายสินทรัพย์ถึงสร้างผลตอบแทนได้ดีกว่า
ลงทุนในหุ้นสามัญทั่วโลกของบริษัทที่มีส่วนร่วมกับการเปลี่ยนแปลงด้านการค้าและเศรษฐกิจระหว่างประเทศของโลกในอนาคต
เน้นลงทุนในหน่วยลงทุนของ Capital Group New Perspective Fund, Class P (USD)โดยเฉลี่ยในรอบปีบัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: KKP GNP-H-SSF Fund Fact Sheet วันที่ 30 มิถุนายน 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
https://media.kkpfg.com/document/2021/Oct/AM%20Sum%20KKP%20GNP-H-SSF.pdf
กองทุนรวมตราสารหนี้ระยะกลางถึงยาวคุณภาพดี ลงทุนกระจายทั้งในตราสารหนี้ภาครัฐ ภาคเอกชน ทั้งไทยและต่างประเทศ
เน้นลงทุนในตราสารภาครัฐ และตราสารหนี้ที่ออกโดยธนาคารพาณิชย์ หรือบริษัทเอกชน และ/หรือ เงินฝาก ทั้งในและต่างประเทศ โดยกองทุนจะลงทุนในต่างประเทศไม่เกิน 79% ของ NAV
ที่มา: KKP ACT FIXED-SSF Fund Fact Sheet วันที่ 31 กรกฎาคม 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
https://media.kkpfg.com/document/2020/Nov/AM%20FFS%20KKP%20ACT%20FIXED-SSF.pdf
กองทุนรวมตราสารหนี้ทั่วโลก ลงทุนแบบเชิงรุก เพื่อสร้างผลตอบแทนเป็นรายได้ที่สม่ำเสมอ
เน้นลงทุนในหน่วยลงทุนของ PIMCO GIS Income Fund (Class I) โดยเฉลี่ยในรอบปีบัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: UGIS-SSF Fund Fact Sheet วันที่ 30 มิถุนายน 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
https://www.uobam.co.th/srcm/fund_mapping/mmh7gun7l/gu/n7/o0x0/UGISSSF_Factsheet_20230630.pdf
กองทุนรวมกลุ่ม REITs และกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ รวมถึงโครงสร้างพื้นฐานไทย และต่างประเทศ
เน้นลงทุนทั้งในและต่างประเทศ ในหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ (REITs) กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน รวมถึง Exchange Traded Fund (ETF) และ/หรือหน่วยของกองทุน private equity ที่เน้นลงทุนในหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์หรือทรัสต์เพื่อการลงทุน ในอสังหาริมทรัพย์(REITs) หรือกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน หรือเน้นลงทุนในตราสารที่เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์หรือโครงสร้างพื้นฐาน และ/หรือตราสารของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์/ตรา สารของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน โดยเฉลี่ยในรอบปีบัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: PRINCIPAL iPROPEN-SSF Fund Fact Sheet วันที่ 31 กรกฎาคม 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
ลงทุนในหุ้นที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในประเทศเวียดนาม ที่ดำเนินธุรกิจหรือได้รับผลประโยชน์จากการเติบโตทางเศรษฐกิจ หรือมีทรัพย์สินส่วนใหญ่มาจากการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศเวียดนาม
เน้นลงทุนในกองทุนเปิดเค เวียดนาม หุ้นทุน (กองทุนหลัก) โดยเฉลี่ยในรอบปีบัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: K-VIETNAM-SSF Fund Fact Sheet วันที่ 31 กรกฎาคม 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
https://www.kasikornasset.com/FundDocument/Fund_Fact_Sheet/K-VIETNAM-SSF.pdf
ลงทุนในหุ้นของบริษัทที่จดทะเบียนในประเทศภูมิภาคเอเชีย แต่ไม่รวมประเทศญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
เน้นลงทุนในหน่วยลงทุนของกองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นเอเชีย (B-ASIA) (กองทุนหลัก) โดยเฉลี่ยในรอบปี บัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: B-ASIASSF Fund Fact Sheet วันที่ 30 มิถุนายน 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
กองทุนผสม มีในสัดส่วนลงทุนในหุ้น 35% ตราสารหนี้ 50% อื่น ๆ 15% โดยประมาณ
เน้นลงทุนในหน่วยลงทุนของ BGF Global Multi-Asset Income Fund โดยเฉลี่ยในรอบปีบัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: KKP INCOME-H-SSF Fund Fact Sheet วันที่ 30 มิถุนายน 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
https://media.kkpfg.com/document/2022/Jan/AM%20Sum%20KKP%20INCOME-H-SSF.pdf
ลงทุนในหุ้นสามัญทั่วโลกของบริษัทที่มีส่วนร่วมกับการเปลี่ยนแปลงด้านการค้าและเศรษฐกิจระหว่างประเทศของโลกในอนาคต
เน้นลงทุนในหน่วยลงทุนของ Capital Group New Perspective Fund, Class P (USD)โดยเฉลี่ยในรอบปีบัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: KKP GNP RMF-H Fund Fact Sheet วันที่ 30 มิถุนายน 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
https://secdocumentstorage.blob.core.windows.net/fundfactsheet/M0366_2561.pdf
ลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลหรือหุ้นกู้เอกชนที่มีแนวโน้มเติบโตสูง และมีเสถียรภาพทางการเงินที่ดี
เน้นการลงทุนในเงินฝาก และ/หรือตราสารหนี้ ของบริษัทเอกชนที่มีปัจจัยพื้นฐานดี มีแนวโน้มการเติบโตสูง และมีเสถียรภาพทางการเงินดี หรือของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ นิติบุคคลที่มี กฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ เป็นผู้ออก ผู้รับรอง ผู้อาวัล ผู้สลักหลัง ผู้ค้ำประกัน หรือคู่สัญญา เพื่อให้ผู้ถือหน่วยได้รับผลตอบแทนที่ดี
ที่มา: KKP INRMF Fund Fact Sheet วันที่ 30 มิถุนายน 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
https://media.kkpfg.com/document/2020/Nov/AM%20Sum%20KKP%20INRMF.pdf
กองทุนรวมตราสารหนี้ทั่วโลก ลงทุนแบบเชิงรุก เพื่อสร้างผลตอบแทนเป็นรายได้ที่สม่ำเสมอ
เน้นลงทุนในหน่วยลงทุนของ PIMCO GIS Income Fund (Class I) โดยเฉลี่ยในรอบปีบัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: UGISRMF Fund Fact Sheet วันที่ 30 มิถุนายน 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
https://www.uobam.co.th/srcm/fund_mapping/mmh7gumsd/gu/ms/o0x0/UGISRMF_Factsheet_20230630.pdf
กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทยและต่างประเทศ บริหารแบบ Active เพื่อเป้าหมายการสร้างผลตอบแทนทั้งปันผล และส่วนต่างราคา (Capital Gain) ที่ดีในระยะยาว
ลงทุนในทรัพย์สินทางเลือก ได้แก่ หน่วย Property/ REITs/ หน่วย Infra/ ETF ที่เน้นลงทุนในหน่วย Property/ REITs/ หน่วย Infra โดยเฉลี่ยในรอบปีบัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: B-IR-FOFRMF Fund Fact Sheet วันที่ 30 มิถุนายน 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
ลงทุนในหุ้นที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในประเทศเวียดนาม ที่ดำเนินธุรกิจหรือได้รับผลประโยชน์จากการเติบโตทางเศรษฐกิจ หรือมีทรัพย์สินส่วนใหญ่มาจากการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศเวียดนาม
เน้นลงทุนในกองทุนเปิดเค เวียดนาม หุ้นทุน (กองทุนหลัก) โดยเฉลี่ยในรอบปีบัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: KVIETNAMRMF Fund Fact Sheet วันที่ 31 กรกฎาคม 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
https://www.kasikornasset.com/FundDocument/Fund_Fact_Sheet/KVIETNAMRMF.pdf
ลงทุนในหุ้นของบริษัทที่จดทะเบียนในประเทศภูมิภาคเอเชีย แต่ไม่รวมประเทศญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
เน้นลงทุนในหน่วยลงทุนของกองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นเอเชีย (B-ASIA) (กองทุนหลัก) โดยเฉลี่ยในรอบปี บัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: B-ASIARMF Fund Fact Sheet วันที่ 31 พฤษภาคม 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
กองทุนรวมผสมทั่วโลก มุ่งเน้นหาผลตอบแทนสูงสุดให้กับกองทุน ลงทุนในตราสารหลากหลายประเภททั่วโลก
ลงทุนในกองทุน BGF Global Allocation Fund A2 USD (กองทุนหลัก) โดยเฉลี่ยในรอบปีบัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
ที่มา: KGARMF Fund Fact Sheet วันที่ 30 มิถุนายน 2023
ศึกษารายละเอียด นโยบาย ข้อมูล และความเสี่ยงของกองทุนเพิ่มเติม ได้ที่
https://www.kasikornasset.com/FundDocument/Fund_Fact_Sheet/KGARMF.pdf
“มาใช้เงินลงทุนทุกบาททุกสตางค์อย่างคุ้มค่ากัน ด้วยการลงทุนผ่านกองทุนลดหย่อนภาษี SSF & RMF ทั้งประหยัดภาษี ทั้งสร้างให้พอร์ตโตในระยะยาว ให้เราเกษียณอย่างมีคุณภาพนะครับ”
– Bank Chayanon (The Trend Following Investor)
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเปิดบัญชี FINNOMENA FUNDS ได้ที่
เปิดบัญชีกองทุนลดหย่อนภาษี กับ FINNOMENA FUNDS วันนี้ รับฟรี ! 30 FINT* ได้ฟิน 2 ต่อ ทั้งลดหย่อนภาษี และสะสม FINT
ซื้อกองทุนลดหย่อนภาษีได้ง่าย ๆ ทั้งกองทุน SSF และ RMF มีให้เลือกกว่า 21 บลจ. ในที่เดียว และยังมีความเป็นกลางในการคัดสรรกองทุนมาแนะนำให้กับนักลงทุน ที่ FINNOMENA FUNDS เท่านั้น
เปิดบัญชี คลิก : https://finno.me/fint-tax-oa-ws
ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน – 30 กันยายน 2566
*เงื่อนไขเป็นไปตามที่บริษัทกำหนด
คำเตือน
ผู้ลงทุนควรทำความเข้าใจลักษณะสินค้า เงื่อนไข ผลตอบแทน ความเสี่ยงและศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ทางภาษีที่ระบุไว้ในคู่มือการลงทุนในกองทุนรวม SSF และ RMF กรณีไม่ได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขภาษี จะไม่ได้สิทธิประโยชน์ตามเงื่อนไขกองทุน | การลงทุนในกองทุนรวมไม่ใช่การฝากเงิน | ผู้ลงทุนอาจมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากการป้องกันความเสี่ยงขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้จัดการกองทุน | บางกองทุนมีการลงทุนกระจุกตัวในประเทศที่ลงทุน จึงมีความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนอาจสูญเสียเงินลงทุนจำนวนมาก ผู้ลงทุนจึงควรพิจารณาการกระจายความเสี่ยงของพอร์ตการลงทุนโดยรวมของตนเองด้วย | สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมหรือขอรับหนังสือชี้ชวนได้ที่ บริษัทหลักทรัพย์นายหน้าซื้อขายหน่วยลงทุน ฟินโนมีนา จำกัด ในช่วงเวลาวันทำการตั้งแต่ 09:00-17:00 น. ที่หมายเลขโทรศัพท์ 02 026 5100 และทาง LINE “@FINNOMENAPORT” | สำหรับผู้ลงทุนในความดูแลของ Kept by krungsri ติดต่อทีม Kept help center ที่หมายเลขโทรศัพท์ 02 296 6299
วินัยทางการเงินที่ใคร ๆ ก็สร้างมันได้ ไม่ว่ามันจะยากหรือง่าย หากเราตั้งใจซะอย่าง ก็สามารถทำสำเร็จได้ ลองคิดดูสิว่าชีวิตจะดีแค่ไหน หากเรามี เงินเก็บ
แล้วมันจะดีขึ้นไปอีก หากเรามีการวางแผนการเงินที่ดีควบคู่ไปด้วย เพราะมันจะเป็นตัวกำหนดทิศทางชีวิตในอนาคตได้ . . วันนี้ FinSpace มี 4 วิธีสร้างวินัยการออมแบบง่าย ๆ สามารถทำตามได้ มาฝากทุกคนครับ
เพราะยิ่งฟุ่มเฟือยมาก ก็ยิ่งต้องเก็บมาเช่นกัน เหมาะสำคัญคนที่ใช้เงินเก่ง และอยากสร้างวินัยไปในตัวควบคู่ไปด้วย และถือเป็นการเตือนสติในแต่ละครั้งที่จะใช้
แบบดึงออกจากบัญชีเงินเดือนโดยอัตโนมัติ จะ 10% ของรายได้ หรือเท่าไหร่ก็ได้ เอาแบบไม่เห็นเงิน ไม่ได้จับแบงก์ ถอนออกก็ไม่ได้ แต่รับรองว่ามีเงินเก็บชัวร์ แถมได้ดอกเบี้ย ปลอดภาษีอีก และมีเวลาให้เลือกออม แนะนำให้เลือก 12 เดือนไปเลย สิ้นปีจะได้มีเงินก้อน
คือ การออมเงินตลอดปี 365 วัน แบบเรียงตามวัน ตัวอย่างเช่น วันนี้วันที่ 132 ก็ให้เก็บเงิน 132 บาท ไปเรื่อย ๆ ซึ่งช่วงแรกจะง่ายมากเพราะจำนวนตัวเลขน้อย แต่ช่วงใกล้สิ้นปีก็จะเริ่มหนัก ซึ่งเป็นวิธีที่ไม่ง่ายเลย แต่ก็ใช้ว่าจะทำไม่ได้ ถ้ารู้ทริค นั้นก็คือเราไม่จำเป็นต้องเรียงวันก็ได้ วันไหนมีน้อยก็เก็บน้อย วันไหนมีมากก็เก็บของวันท้าย ๆ ก่อน
แบ่งกระปุกออมเงินออกเป็นหลาย ๆ เป้าหมาย ว่าจะออมเพื่อไปทำอะไร ตัวอย่างเช่น แต่งงาน เที่ยว ซื้อบ้าน เก็บเงิน เพื่อให้มีกำลังใจในการออม
FinSpace
ที่มาบทความ: https://www.finspace.co/pick-stocks-like-peter-lynch/
วันนี้ 25 ก.ย. ตลาดหุ้นเวียดนาม (VN 30 Index) ปรับตัวลงกว่า 3.2% และตลาดหุ้นฮ่องกง ดัชนี Hang Seng ปรับตัวลง 2.0% สอดคล้องกับทิศทางตลาดหุ้นเอเชียที่ปรับตัวลงทั้งภูมิภาค รับข่าวเจ้าหน้าที่จีนสอบสวน Hengda Real Estate Group บริษัทอสังหาริมทรัพย์ในเครือ China Evergrande ซึ่งทำให้ Evergrande ขาดคุณสมบัติในการออกหุ้นกู้ใหม่ และกระทบต่อแผนการปรับโครงสร้างหนี้ของบริษัท
โดย VN30 Index ปรับตัวลงอย่างทั่วถึง นำโดย SSI Securities, Vingroup และ Vietnam Rubber Group ที่ปรับตัวลงประมาณ 6.0 – 7.0% มีเพียง Southeast Asia Commercial Join และ Vietjet Aviation ที่ปรับตัวบวกขึ้นได้เล็กน้อยประมาณ 0.5 – 1.0% จาก Sentiment เชิงลบของความกังวลภาคอสังหาริมทรัพย์จีน และกระแสเงินทุนไหลออกซึ่งสะท้อนผ่านทาง Dollar Index ที่แตะระดับ 105.6 แข็งค่าที่สุดตั้งแต่มีนาคม 2023 ที่ผ่านมา
FINNOMENA FUNDS Investment Team มองว่าการปรับตัวลงในระยะสั้นเนื่องมาจาก sentiment ของตลาดหุ้นโลกที่เข้าสู่โหมด risk-off และความกังวลของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรทั่วโลกที่ปรับตัวขึ้นรับกับแนวโน้มการขึ้นดอกเบี้ยที่ยังปรับตัวขึ้นต่อ แต่ปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจของเวียดนามที่ดูดีขึ้นจากการสนับสนุนด้านนโยบายจากภาครัฐและธนาคารกลาง และแนวโน้มการฟื้นตัวของการส่งออกในกลุ่มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เป็นปัจจัยที่สนับสนุนกำไรของตลาดหุ้นเวียดนามให้ฟื้นตัวได้ในไตรมาสที่เหลือของปี และ valuation ที่ยังอยู่ในระดับต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของตัวเองในระยะเวลา 10 ปี
——————-
นักเสี่ยงโชคทั้งหลายคงตั้งตารอทุกวันที่ 1 และ 16 ของเดือน เพราะเป็นวันที่จะได้ลุ้นพลิกชีวิตกลายเป็นเศรษฐีหน้าใหม่ของประเทศ แต่เคยคิดไหมว่าเดือน ๆ หนึ่งเราหมดเงินไปกับการซื้อล็อตเตอรี่เท่าไร และตั้งแต่ซื้อมาเคยถูกรางวัลไปแล้วกี่ครั้ง? เพราะเปอร์เซ็นต์ในการถูกรางวัลที่ 1 มีน้อยมาก ๆ เพียง 0.0001% เท่านั้น หรือแม้แต่กระทั่งรางวัลเลขท้าย 2 ตัวก็มีโอกาสถูกรางวัลเพียง 1%
แต่ถ้าเราลองแบ่งเงินที่ซื้อล็อตเตอรี่ทุกเดือน มาลงทุนแบบ DCA ในกองทุน SSF-RMF ดูล่ะ? เพราะการลงทุนในกองทุน SSF-RMF นอกจากจะเป็นการสร้างโอกาสรับผลตอบแทนในอนาคตแล้ว ยังสามารถนำไปลดหย่อนภาษีประจำปีได้ด้วย
มาดูกันว่าหากเราแบ่งเงินซื้อหวยไปลงทุนแบบ DCA ในกองทุน SSF-RMF ทุกเดือน เป็นระยะเวลา 10 ปี ตามเงื่อนไขของกองทุน SSF-RMF แล้ว จะทำให้เงินของเราเติบโตไปได้เท่าไรบ้าง
ตัวอย่างเช่น แบ่งเงินซื้อหวยมาลงทุนแบบ DCA ทุกเดือน เดือนละ 1,000 บาท หรือปีละ 12,000 บาท และใช้เงินลงทุนเริ่มต้น 20,000 บาท ในกองทุน SSF-RMF ที่ให้ผลตอบแทนคาดหวังเฉลี่ยปีละ 5% ในระยะเวลา 10 ปีจะทำให้เรามีเงิน 191,059.34 บาท โดยผลตอบแทนที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้จะเท่ากับ 71,059.34 บาท โดยเงินก้อนนี้สามารถนำไปต่อยอดวางแผนการเงินในอนาคตได้อีก เช่น การวางแผนเกษียณ ทั้งนี้ตัวอย่างในตารางเป็นการคำนวณจากผลตอบแทนเฉลี่ยแบบทบต้น ณ สิ้นปี โดยไม่นับรวมปัจจัยอื่นที่อาจทำให้ผลตอบแทนไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง
อย่างไรก็ตาม การซื้อหวยสามารถทำได้ เพราะนอกจากจะเป็นการสร้างสีสันให้ได้ลุ้นพลิกชีวิตเป็นเศรษฐีหน้าใหม่เดือนละ 2 ครั้งแล้ว ยังเป็นการสร้างรายได้ให้รัฐบาลเพื่อใช้ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจต่อไปด้วย แต่อย่าลืม! แบ่งเงินมาลงทุนในแต่ละเดือนด้วยการลงทุนแบบ DCA ในกองทุน SSF-RMF ให้เงินงอกเงย แถมได้นำไปลดหย่อนภาษีกันด้วยนะ
“ผิดหวังจากหวย เราช่วยคุณได้”
แม้ว่า “หวย” จะเป็นการลงทุนที่ใช้เงินน้อยและมีโอกาสได้ผลตอบแทนที่สูงมาก ๆ แต่อย่าลืมนะคะ ว่าเวลาไม่เป็นดั่งใจหวัง เงินลงทุนของเราจะเท่ากับ 0 ทันที เรียกได้ว่า มือทำรวย หวยทำจน แถมเรายังไม่สามารถ หาความรู้หรือใช้ความเชี่ยวชาญในการลงทุนเพื่อเพิ่มโอกาสได้กำไร เหมือนสินทรัพย์อื่น ๆ อีกด้วย ใช้ดวงและบุญเก่าล้วน ๆ ดังนั้นเล่นพอประมาณ แล้วอย่าลืมแบ่งเงินมาลงทุนในกองทุน SSF หรือ RMF ที่ได้ประโยชน์แน่นอนจากเงินคืนภาษี และระยะเวลาการลงทุนที่ยาว ก็จะช่วยลดความผันผวนของพอร์ตลงทุนในตัว มั่นใจได้ว่ามีเงินใช้หลังเกษียณแน่นอนค่ะ
– Aoei Thananit, CFP® (The Financial Planner)
คำเตือน
ผู้ลงทุนควรทำความเข้าใจลักษณะสินค้า เงื่อนไข ผลตอบแทน ความเสี่ยงและศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ทางภาษีที่ระบุไว้ในคู่มือการลงทุนในกองทุนรวม SSF และ RMF กรณีไม่ได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขภาษี จะไม่ได้สิทธิประโยชน์ตามเงื่อนไขกองทุน | การลงทุนในกองทุนรวมไม่ใช่การฝากเงิน | สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมหรือขอรับหนังสือชี้ชวนได้ที่ บริษัทหลักทรัพย์นายหน้าซื้อขายหน่วยลงทุน ฟินโนมีนา จำกัด ในช่วงเวลาวันทำการตั้งแต่ 09:00-17:00 น. ที่หมายเลขโทรศัพท์ 02 026 5100 และทาง LINE “@FINNOMENAPORT” | สำหรับผู้ลงทุนในความดูแลของ Kept by krungsri ติดต่อทีม Kept help center ที่หมายเลขโทรศัพท์ 02 296 6299